1 / 17

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน ในคลินิกนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน ในคลินิกนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่10 เชียงใหม่. ลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญ. รพ.แม่และเด็ก ได้รับการประเมินเป็น รพ. สายสัมพันธ์แม่-ลูก 1 ใน 5 ของ ประเทศ WHO ใช้ เกณฑ์ 24 hours recall breastfeeding

afric
Download Presentation

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน ในคลินิกนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน ในคลินิกนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่10 เชียงใหม่

  2. ลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญ • รพ.แม่และเด็ก ได้รับการประเมินเป็น • รพ. สายสัมพันธ์แม่-ลูก 1 ใน 5 ของ ประเทศ • WHO ใช้ เกณฑ์ 24 hours recall breastfeeding • เปลี่ยนเกณฑ์ Exclusive breastfeeding • จาก 4 เดือน เป็น 6 เดือน • เริ่มพัฒนาโปรแกรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน

  3. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในปี พ.ศ. 2538-2543

  4. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้แม่ไม่ประสบความสำเร็จปัจจัยสำคัญที่ทำให้แม่ไม่ประสบความสำเร็จ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวใน 4 เดือน 1. ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ แม่เต้านมคัด, หัวนมเจ็บแตก, น้ำนมแม่หลั่งน้อย, เต้านมอักเสบ/เป็นฝี แม่ไม่มีความมั่นใจว่ามีปริมาณน้ำนมเพียงพอให้ลูก 2.แม่ทำงานนอกบ้าน

  5. แนวคิดสำคัญ ถึงแม้แม่ทำงานนอกบ้านก็สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ ทีมงานคลินิกนมแม่ได้นำแนวคิดสำคัญนี้มาเป็นแนวทางพัฒนา โปรแกรมฝึกและเตรียมความพร้อม สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน

  6. สัปดาห์ที่ 1 การฝึกปฎิบัติการบีบ-เก็บ ตุน น้ำนมแม่ สัปดาห์ที่ 2 การฝึกลูกดื่มนมแม่จากแก้วโดยเจ้าหน้าที่ สัปดาห์ที่3 • การเตรียมลูกให้คุ้นเคยกับผู้เลี้ยงดู • เตรียมผู้เลี้ยงลูก ป้อนนมลูกด้วยแก้ว สัปดาห์ที่ 4 เตรียมแม่ไปทำงาน

  7. คลินิกนมแม่ได้นำรูปแบบดังกล่าวมาจัดทำเป็นโปรแกรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน และขยายผลสำหรับมารดาในคลินิกนมแม่ ผลการดำเนินงาน

  8. คลินิกนมแม่เชิงรุกการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสถานทีทำงาน การจัดมุมนมแม่ในโรงเรียนวชิรวิทย์ ทีมงานการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แนะนำการจัดตั้งมุมนมแม่

  9. มุมนมแม่ในโรงเรียนวชิรวิทย์มุมนมแม่ในโรงเรียนวชิรวิทย์ ทำให้เกิดวิถี และวัฒนธรรม การเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ในโรงเรียน

  10. การศึกษากลุ่มทารก 658 รายที่มีอายุ≥ 6 เดือนที่คลอด และมารับบริการที่รพ.ส่งเสริมสุขภาพในช่วง 21 ก.ย. 49 – 20 ธ.ค. 50 จำนวนทารกที่ประสบความสำเร็จได้รับนมแม่เป็นอาหารเพียงอย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 40.6 จำนวนทารกที่ได้รับอาหารอื่น/น้ำร่วมกับนมแม่เป็นอาหารในช่วง 6 เดือนแรก ร้อยละ 59.4

  11. ปัจจัยที่ทำให้แม่ไม่ประสบผลสำเร็จการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

  12. การวิเคราะห์ผลความสำเร็จของการดำเนินงานการวิเคราะห์ผลความสำเร็จของการดำเนินงาน 1. แม่เข้าโปรแกรมครบทุกขั้นตอน 2. แม่มีความตั้งใจจริง และเชื่อมั่นในความสามารถของเจ้าหน้าที่ 3. แม่เข้าโปรแกรมก่อนไปทำงานอย่างน้อย 1 เดือน 4. เจ้าหน้าที่มี ความรู้ ความชำนาญ และความเชื่อมั่นในตัวเอง 5. มีระบบติดตามที่ดี มีการติดตามอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง เมื่อแม่มีปัญหาต้องให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือได้ทันท่วงที

  13. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จและความล้มเหลวปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จและความล้มเหลว 1. ปัจจัยด้านแม่ ความรักและผูกพันต่อลูก ทัศนคติที่ดีต่อนมแม่ และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง 2. ปัจจัยด้านครอบครัวและสังคม ได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวและสังคม 3. ปัจจัยด้านที่ทำงาน การอำนวยความสะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ การมีนมแม่ในที่ทำงาน 4. ปัจจัยด้านสถานบริการและบุคลากร มีการติดตามอย่างเป็นระบบ และให้ความช่วยเหลือทันท่วงที เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความชำนาญ และความมั่นใจในตัวเอง

  14. แผนการพัฒนางาน 1. ปรับปรุงรูปแบบการบริการ โดยการคัดกรองและเตรียมมารดาที่ทำงานนอกบ้านตั้งแต่ช่วงฝากครรภ์ นัดมารดาเข้าโปรแกรมตั้งแต่ 1 เดือนหลังคลอดเป็นอย่างช้า 2. ประสานการดูแลที่ต่อเนื่องในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ ANC, PP, FP , WCC 3. กำหนดแนวทางการสนับสนุนให้เกิดมุมนมแม่ในสถานประกอบการ 4. พัฒนารูปแบบบริการสำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน สำหรับแม่ที่ลางานได้ 45 วัน และ 60 วัน

  15. การพัฒนารูปแบบบริการเพื่อการถ่ายทอดการพัฒนารูปแบบบริการเพื่อการถ่ายทอด • การทำน้ำนมแม่ให้คงอยู่กรณีแม่-ลูกต้องแยกจากกัน เช่น ทารกน้ำหนักน้อย ลูกป่วย • การทำน้ำนมแม่ที่แห้งแล้วให้กลับคืนมา • การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกปากแหว่งเพดานโหว่ • การให้การดูแลทารกที่มีภาวะลิ้นติด (tongue tie) • เป็นผู้เริ่มต้นในการดูแลแม่ที่เต้านมเป็นฝีโดยไม่ต้องผ่าฝี • คลินิกนมแม่เชิงรุก ได้แก่ การจัดตั้งชมรมนมแม่ในโรงพยาบาล มุมนมแม่ในโรงเรียน มุมนมแม่ในสถานประกอบการ การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในราชทัณฑ์ การมีส่วนร่วมในการจัดตั้งชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวตำบลป่าแดด จ. เชียงใหม่ และตำบลบ้านแป้น จ.ลำพูน • ปัจจุบันเป็น Training center การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและนักศึกษาแพทย์และพยาบาล

  16. ขอขอบคุณ • พญ. กรรณิการ์ บางสายน้อย • คุณ วไล เชตะวัน • และ ทีมงานคลินิกนมแม่ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

  17. สวัสดี

More Related