1 / 7

โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี. ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1 ด.ช. รังสิชนม์ วีร โชติ โยธิน ชั้น ม.1/2 เลขที่ 44 2 ด.ญ. ฐิ ตา ภรณ์ ชูโต ชั้น ม.1/2 เลขที่ 9 3 ด.ญ. นร มน ทารักษา ชั้น ม.1/2 เลขที่ 23 4ด.ช.ปิย พนธ์ ปิ ยะพันธ์ ชั้น ม.1/2 เลขที่ 32

arav
Download Presentation

โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดีโครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1 ด.ช. รังสิชนม์ วีรโชติโยธิน ชั้น ม.1/2 เลขที่ 44 2 ด.ญ.ฐิตาภรณ์ ชูโต ชั้น ม.1/2 เลขที่ 9 3 ด.ญ.นรมน ทารักษา ชั้น ม.1/2 เลขที่ 23 4ด.ช.ปิยพนธ์ปิยะพันธ์ ชั้น ม.1/2 เลขที่ 32 5 ด.ญ.ปิยาพัชร เข็มกลัด ชั้น ม.1/2 เลขที่ 33

  2. บทที่1 ปัญหาและสาเหตุ

  3. บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น เพศชาย เสียงแตกหนุ่ม มีกล้ามเนื้อมากขึ้น มีเครา เพศหญิง หน้าอกมีขนาดใหญ่ขึ้น สะโพกผายออก2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง การเจริญเติบโตสมวัย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อและครบ 5 หมู่ ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ ไม่ควรรับประทานอาหารกลุ่มมังสวิรัติ เพราะส่วนใหญ่จะเลือกทานอาหารไม่ครบถ้วนทุกหมู่ ทำให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร วิธีการดูแลน้ำหนักตัว รับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ และ เนื้อสัตว์ ให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย รวมทั้งออกกำลังกายเป็นประจำ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ขี่จักรยาน

  4. บทที่3 วิธีดำเนินงาน 1.   แบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม 2.   วางแผนการบันทึกการทดสอบสมรรถภาพ การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง 3.   ชวนสมาชิกภายในกลุ่มออกกำลังกายและควบคุมการรับประทานอาหาร4.   บันทึกน้ำหนักส่วนสูง  การชั่งน้ำหนักทุกอาทิตย์5.   นัดวันทดสอบสมรรถภาพทางรางกาย6.   บันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพ7.   ให้สมาชิกทุกคนภายในกลุ่มควบคุมน้ำหนักของตนเองและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

  5. บทที่4 ผลการดำเนินงาน

  6. บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน รังสิชนม์ในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 62 ส่วนสูง 166 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 58 ส่วนสูง 169 น้ำหนักลด4กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม3เซนติเมตร สาเหตุ ควบคุมอาหารและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ฐิตาภรณ์ในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 48 และส่วนสูง159 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 50 ส่วนสูง 162 น้ำหนักเพิ่ม2กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม 3 เซนติเมตร สาเหตุ ทานอาหารที่มีประโยชน์ นรมนในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 50 ส่วนสูง158 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 54 ส่วนสูง 159 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น4กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม 1เซนติเมตร สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกาย ปิยพนธ์ในวันที่ 10/11/55มีน้ำหนัก50 ส่วนสูง 167 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 48 ส่วนสูง 172 มีน้ำหนักลดลง 2 กิโลกรัม ส่วนสูงเพิ่มขึ้น 5 เซนติเมตร สาเหตุ ออกกำลังกายแต่กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ปิยาพัชรในวันที่ 10/11/55มีน้ำหนัก 55 ส่วนสูง 163 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 53 ส่วนสูง 166 มีน้ำหนักลดลง 2 กิโลกรัมส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3 เซนติเมตร สาเหตุ ออกกำลังกาย

  7. บรรณานุกรม http://zayyes.com/index.php?topic=6151.0 http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=44133

More Related