1 / 26

PROF.DR.ANURAK PANYANUWAT UNSERV, CHIANG MAI UNIVERSITY cmu.ac.th uniserv.ac.th

PROF.DR.ANURAK PANYANUWAT UNSERV, CHIANG MAI UNIVERSITY www.cmu.ac.th uniserv.ac.th. เรียนอย่างไรให้จบการศึกษาตามเป้าหมาย บรรยายพิเศษแก่ศิษย์เก่าบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราช ภัฏ เชียงใหม่ วันที่ 20 เมษายน 2555 ณ Green lake Hotel เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chiang Mai University

Download Presentation

PROF.DR.ANURAK PANYANUWAT UNSERV, CHIANG MAI UNIVERSITY cmu.ac.th uniserv.ac.th

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. PROF.DR.ANURAK PANYANUWATUNSERV, CHIANG MAI UNIVERSITYwww.cmu.ac.th uniserv.ac.th เรียนอย่างไรให้จบการศึกษาตามเป้าหมาย บรรยายพิเศษแก่ศิษย์เก่าบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วันที่ 20 เมษายน 2555 ณ Green lake Hotel เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chiang Mai University www.cmu.ac.th

  2. เรื่องเล่าวันนี้ • รู้ระเบียบ ข้อบังคับ การศึกษา เนื้อหา ช่วงเวลา • รู้เรื่องการวิจัย และสังเคราะห์ กับถอดบทเรียน • การทำวิทยานิพนธ์ กับการพบกรรมการที่ปรึกษา • การเตรียมตัวเขียนบทความส่งวารสาร ในกรณีของบัณฑิตศึกษา • การปฏิบัติตัวหลังสำเร็จการศึกษา

  3. รู้เขา รู้เรา • รู้ระเบียบ ข้อบังคับ การศึกษา • รู้และเข้าใจเนื้อหา ที่ศึกษา • มีแผนการศึกษาของตัวเอง ช่วงเวลา • มีทฤษฎี แนวคิด งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Back up • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับที่ปรึกษา

  4. อย่าพยายามทำตัวเป็นภาระ ของอาจารย์ที่ปรึกษาเกินจำเป็น

  5. ช่วยเหลือกันบ้างระหว่างเพื่อนช่วยเหลือกันบ้างระหว่างเพื่อน

  6. รู้เทคนิค มนุษยสัมพันธ์ • กับเพื่อน • ผู้สอน • กรรมการที่ปรึกษา/นัดหมาย • เจรจา และประสานกับบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อให้โอกาสอาจารย์ที่ ปรึกษาได้ช่วยเลือก ประธานสอบ เพราะบางคนทำผิดบทบาท • กรรมการสอบ (หลังสอบ)

  7. การทำวิทยานิพนธ์ - มีแผน/เดินตามแผน/ปฏิทินงาน - เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์ - ยึดวัตถุประสงค์ /คำถามวิจัย - พบอาจารย์ที่ปรึกษา/ประสานงาน - ค้นคว้า - กรอบแนวคิด ที่ BACK UP - การสร้าง หรือค้นพบองค์ความรู้ใหม่

  8. แนวคิด/วิจัย กรอบแนวคิด คำถามการวิจัย งานที่เกี่ยวข้อง เวที รายงาน วิธีคิดในการมองงานวิจัย แผนภูมิ กระบวนการวิจัย วิธีการวิจัย

  9. การพัฒนาเครื่องมือวิจัยและการรวบรวมข้อมูล การพัฒนาเครื่องมือวิจัยและการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือวิจัยเป็นสื่อเชิงกลไกที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อหาคำตอบให้แก่คำถามการวิจัยที่สอดคล้องกับกรอบแนวคิดการวิจัย

  10. การแตกวัตถุประสงค์การวิจัยสู่การสร้างเครื่องมือการแตกวัตถุประสงค์การวิจัยสู่การสร้างเครื่องมือ วัตถุประสงค์ย่อยรายข้อ ประเด็นคำถาม (มิใช่ตัวคำถาม) วัตถุประสงค์หลัก วิธีการจัดเก็บ ข้อมูลของแต่ละแหล่งข้อมูล ประเภทของ เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล แหล่งข้อมูล - ปฐมภูมิ - ทุติยภูมิ การแปลผลตามเกณฑ์ / บริบท วิธีการวิเคราะห์ตาม แต่ละวัตถุประสงค์

  11. หัวข้อวิจัย คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ ประเด็นคำถาม วัตถุประสงค์ย่อย ขอบเขตการวิจัย เครื่องมือวิจัย แหล่งข้อมูล สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ

  12. แนวทางการเลือกใช้เครื่องมือวิจัยจัดเก็บข้อมูล แนวทางการเลือกใช้เครื่องมือวิจัยจัดเก็บข้อมูล บางประเด็นคำถาม อาจต้องใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลมากกว่าหนึ่งชนิด เพื่อความสมบูรณ์ของคำตอบและหลักฐานอ้างอิง

  13. เครื่องมือวิจัย ทางวิทยาศาสตร์/ สุขภาพ • เครื่องมือวิจัยทาง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เครื่องมือวิจัยทางสังคมศาสตร์ / มนุษย์ศาสตร์ ประเด็นคำถาม แบบสัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้าง ประเด็นสัมภาษณ์ ประเด็นวิเคราะห์ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์อย่าง ไม่มีโครงสร้าง ประเด็นการอภิปราย ประเด็นการอภิปราย กลุ่มย่อยเจาะลึก (Focus Group Discussion) แบบสังเกตการณ์ ประเด็นคำถามสำหรับการประเมินชุมชนอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Rural Appraisal -PRA) และ Rapid Rural Appraisal - RRA อื่น ๆ การผสมผสานที่เหมาะสม

  14. 1. วัตถุประสงค์หลักการวิจัย • 1.1 วัตถุประสงค์ย่อย • 1.1.1 ประเด็นคำถาม • 1.1.2 ประเด็นคำถาม PRA Focus Group Discussion ประเด็นวิเคราะห์ เนื้อหา เอกสาร ประเด็นการสัมภาษณ์ ประเด็นวิเคราะห์ ทางวิทยาศาสตร์ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม เช่น คนอีสานเอาขี้เถ้าต้นเซือก (เผาแล้วจะมีสีขาวนวล) มาผสมกับมะขามเปรี้ยว กลายเป็นน้ำมะขามหวานไปได้ เพราะฉะนั้น ทำไมและมีคุณสมบัติ / เงื่อนไข พรรณนา เชิงสถิติวิเคราะห์ เชิงวิทยาศาสตร์ (ตามเหมาะสม) วิธีอื่น ๆ วิเคราะห์ข้อมูล

  15. Report Writing Always use your university format / or the donor’s format

  16. แนวทางการเขียนรายงานการวิจัย แนวทางการเขียนรายงานการวิจัย เป็นการเรียบเรียงผลการศึกษาให้ตอบคำถามและ วัตถุประสงค์การวิจัยอย่างมีเหตุผล ภายใต้แนวคิดและทฤษฎี โดยมีพยานหลักฐานที่ยืนยันและพิสูจน์ได้

  17. ตรวจสอบว่า นักศึกษา ได้......คุณสมบัติพิเศษอะไรบ้าง - มี VISION - คุณธรรม - ทักษะ - ผู้นำวิชาการ และปฏิบัติได้ - ไม่เป็นชาล้นถ้วย รับฟังเสมอ - อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักอดทน นับ 1-100 ได้

  18. การเตรียมจบ - รู้แหล่งข้อมูล รู้ ITรู้วิธีและระบบACCESS แหล่งข้อมูล • ดูความสมบูรณ์ของ THESIS • ผลงานวิชาการ การนำเสนอตามระเบียบ ข้อบังคับ / สื่อ/วารสาร • ระวังโจรกรรมทางวิชาการ

  19. ข้อระวัง! • บทความที่ส่ง จะต้องไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน และผู้เขียนจะต้องไม่ส่งบทความเพื่อไปตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่นในเวลาเดียวกัน • หลักเกณฑ์สำหรับผู้เขียนบทความ • ต้องไม่มีเจตนาส่งข้อมูลเท็จ หรือเขียนบทความแบบนั่งเทียน • ต้องเป็นผลงานของผู้เขียนเอง หรือกลุ่มแต่ต้องระบุรายชื่อผู้เขียนทุกคนตามความเป็นจริง ระบุชื่อผู้วิจัยหลักให้ชัดเจน • ต้องไม่ส่งบทความที่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารอื่น โดยไม่ระบุว่าได้เสนอผลงานนั้นในวารสารใดบ้างอย่างถูกต้องและสมเหตุสมผล • ต้องส่งต้นฉบับที่ได้รับการรับรองจากผู้เกี่ยวข้องที่แท้จริง

  20. ระวังโจรกรรมทางวิชาการระวังโจรกรรมทางวิชาการ • การตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในกรณีที่ถือว่าเป็นการนำผลงานในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการ มากกว่าหนึ่งฉบับในลักษณะที่ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ รวมทั้งการลอกเลียนผลงานทางวิชาการหรือการโจรกรรมทางวิชาการ • (สภาวิชาการ ม.ช. ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 ได้มอบหมายให้ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและคุณภาพการศึกษา ศ. ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ศ. ดร.นิวัตน์ มณีกาญจน์ และ ศ.ดร.วัชระ กสิณฤกษ์ ร่วมกันพิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ขึ้น)

  21. กรอบการพิจารณา • ความหมายของคำว่า “การโจรกรรมทางวิชาการ” • การนำผลงานเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการมากกว่าหนึ่งฉบับในลักษณะที่ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ • การนำส่วนหนึ่งของผลงานของผู้อื่นมาอ้างในผลงานของตน (Reference) โดยไม่อ้างถึงผู้ค้นคว้าคนแรก • กรณีที่เป็นงานวิจัยร่วม ควรกำหนดสัดส่วนผลงานของผู้วิจัยหลักและผู้วิจัยร่วมอย่างไร (สภาวิชาการ มช. ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553)

  22. การโจรกรรมทางวรรณกรรม” หรือ “การขโมยความคิด” (Plagiarism) • หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง • ถือเป็น “ความไม่สุจริตทางวิชาการ”(Academic Dishonesty) หรือ “การฉ้อฉลทางวิชาการ” (Academic Fraud) และผู้ที่กระทำผิดจะต้องถูกตำหนิทางวิชาการ (Academic Censuse)

  23. ถ้าเป็นนักศึกษา อะไรจะเกิดขึ้น? *ในวงวิชาการ การโจรกรรมทางวรรณกรรมโดยนักศึกษาถือเป็นการกระทำความผิดขั้นร้ายแรงมาก และมีผลให้ได้รับการลงโทษ เช่นปรับตกในงานที่นำส่ง (ระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา) หรือปรับให้ตกในรายวิชานั้นๆ (ระดับอุดมศึกษา) * ในกรณีที่กระทำความผิดซ้ำ หรือกระทำโจรกรรมทางวรรณกรรมขั้นร้ายแรง อาจถูกพักการศึกษาหรือถูกไล่ออก มีหลายมหาวิทยาลัยที่มีบทลงโทษด้วยการถอนหรือเรียกปริญญาคืนหากพบภายหลังจากนักศึกษาประกอบอาชญากรรมทางวิชาการ

  24. ถ้าเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักวิจัย จะเป็นอย่างไร? • มีการลงโทษการโจรกรรมทางวิชาการมีหลายรูปแบบ ตั้งแต่การพักงานไปถึงขั้นไล่ออกหรือเลิกจ้าง • ซึ่งผู้กระทำการดังกล่าวยังต้องเสียชื่อเสียงหมดความเชื่อถือ การกล่าวโทษนักศึกษาหรืออาจารย์มักได้ยินมาจากกรรมการสอบวินัยภายในสถาบันที่เป็นที่ยอมรับของนักศึกษาและอาจารย์

  25. โจรกรรมทางวรรณกรรมผลงานของตนเองโจรกรรมทางวรรณกรรมผลงานของตนเอง • หมายถึง การนำเอางานส่วนใหญ่ หรืองานทั้งหมด หรือเกือบทั้งหมดของตนเองมาทำเป็นงานใหม่โดยไม่ได้แจ้งให้ชัดเจน บทความประเภทนี้ส่วนใหญ่มักเป็นบทความตีพิมพ์ซ้ำ (Multiple Publication) • ผู้เขียนที่ประสงค์ที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นปัญหานี้ เมื่อจะเขียนงานใหม่ ควรอย่างยิ่งที่จะพยายามปฏิบัติตามแนวทางที่ดีที่สุดต่อไปนี้ • แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด อ้างไว้ในบทนำ ว่างานใหม่หรือส่วนของงานใหม่ได้รวมงานเดิมไว้ด้วยอย่างไร • ต้องให้แน่ใจว่าไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด (เช่น งานเดิมของตนอาจเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ ฯลฯ) • อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่

  26. ขอบคุณ ที่ให้ความสนใจ ขอให้สำเร็จตามมุ่งหวัง

More Related