1 / 21

291351 Electronic Commerce

291351 Electronic Commerce. บทที่ 9 การขนส่งสินค้า อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th. Outline. ความหมายของการขนส่ง ขอบเขตและหน้าที่ของการขนส่ง การวัดประสิทธิภาพในการขนส่ง โครงสร้างของระบบขนส่ง ต้นทุนการขนส่ง การขนส่งกับแหล่งอุตสาหกรรม รูปแบบของการบริการขนส่ง.

eloise
Download Presentation

291351 Electronic Commerce

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 291351 Electronic Commerce บทที่ 9 การขนส่งสินค้า อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

  2. Outline • ความหมายของการขนส่ง • ขอบเขตและหน้าที่ของการขนส่ง • การวัดประสิทธิภาพในการขนส่ง • โครงสร้างของระบบขนส่ง • ต้นทุนการขนส่ง • การขนส่งกับแหล่งอุตสาหกรรม • รูปแบบของการบริการขนส่ง

  3. การขนส่ง ( Transportation ) • เป็นการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการจากแหล่งผู้ผลิตหรือผู้จัดเก็บ ไปยังลูกค้าในระดับต่างๆ • ด้วยยานพาหนะ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการขนส่งจากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ตามความประสงค์และเกิดอรรถประโยชน์ตามต้องการ • เป็นอุตสาหกรรมบริการชนิดหนึ่งที่สำคัญมากต่อการดำรงชีวิตประจำวันและธุรกิจทุกแขนง

  4. ระบบขนส่งชนิดต่างๆ

  5. www.nfe.go.th/waghor/exhibition/road/tr-p3.html สรุปวิวัฒนาการขนส่ง

  6. ประโยชน์ของการขนส่ง • ทำให้เกิดความสะดวกสบายต่อปัจจัยสี่ • ทำให้เกิดชุมชนใหม่ • ทำให้เกิดตลาดสินค้าและบริการ • ทำให้เกิดอรรถประโยชน์และมูลค่าต่างๆ • ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศ

  7. ขอบเขตและหน้าที่ของการขนส่งขอบเขตและหน้าที่ของการขนส่ง Customer Plants Supply Production Support Marketing Support การขนส่งจะทำหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการ (Products) ต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการลูกค้า การขนส่งจะทำหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต (Supply) ต่างๆ เพื่อนำไปผลิตเป็นสินค้าหรือบริการต่อไป

  8. การพัฒนาการขนส่ง(Transportation Development)

  9. Efficiency of Transportation

  10. โครงสร้างของระบบขนส่ง (Transportation Structure) • แบ่งตามกิจกรรมการผลิต 1.การขนส่งขาเข้า (Inbound Transportation) 2. การขนส่งขาออก (Outbound Transportation) 3. การขนส่งระหว่างประเทศ (International Transportation)

  11. โครงสร้างของระบบขนส่ง (Transportation Structure) • แบ่งตามด้านกายภาพ 1. การขนส่งทางรถยนต์ (Motor Transportation) 2. การขนส่งทางราง (Rail Transportation) 3. การขนส่งทางน้ำ (Water Transportation) 4. การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation) 5. การขนส่งทางท่อ (Pipeline Transportation) การขนส่งร่วม(Intermodal Transportation)

  12. ต้นทุนการขนส่ง • ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) • ต้นทุนแปรผัน (Variable Cost)

  13. ปัจจัยด้านต้นทุนการขนส่งปัจจัยด้านต้นทุนการขนส่ง การเพิ่มหรือลดของต้นทุนการขนส่ง มาจากปัจจัย 2 ปัจจัย 1. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (Product Related Factors) -เป็นปัจจัยของลักษณะของสินค้าที่มีผลต่อต้นทุนการขนส่ง • คุณลักษณะทางกายภาพ • คุณลักษณะด้านการจัดเก็บ (Stow Ability) • ความยากง่ายในการขนถ่าย (Ease/Difficulty of Handling) • ความรับผิดชอบหรือการรับประกันของเสียหาย (Liability)

  14. ปัจจัยด้านต้นทุนการขนส่งปัจจัยด้านต้นทุนการขนส่ง 2. ปัจจัยด้านตลาด (Market Related Factors) -เป็นปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่ทำการขนส่ง • ที่ตั้งของตลาด • การเชื่อมโยงระหว่างช่องทางการขนส่งต่างๆ • ความสมดุลระหว่างสินค้าขาไปและขากลับ • การขนส่งในประเทศและต่างประเทศ

  15. การขนส่งกับแหล่งอุตสาหกรรมการขนส่งกับแหล่งอุตสาหกรรม • การขนส่งมีความสัมพันธ์กับกิจการทุกประเภทในห่วงโซ่อุปทาน อัตราค่าขนส่งจึงถูกรวมเป็นต้นทุนการผลิตด้วยเสมอ • การพิจารณาว่าทำเลที่ตั้งของแหล่งอุตสาหกรรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับต้นทุนค่าขนส่ง จึงมีความสำคัญกับทุกๆ อุตสาหกรรม ใกล้ ใกล้ แหล่งวัตถุดิบ ตลาดหรือลูกค้า โรงงาน / แหล่งอุตสาหกรรม

  16. โรงงานแห่งหนึ่งผลิตสินค้าโดยแหล่งวัตถุดิบอยู่ห่างตลาดเป็นระยะทาง 100 กม. อัตราค่าบริการขนส่งทั้งวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปราคาเท่ากันทั้งสองอย่าง คือ 2 $ ต่อกิโลเมตร • ในการผลิตสินค้าใช้วัตถุดิบ 120 ตัน แต่เมื่อผลิตเป็นสินค้าแล้วน้ำหนักจะลดลง 25% สมมติว่าน้ำหนักวัตถุดิบเท่ากับ 120 ตัน น้ำหนักสินค้าจะเท่ากับ 90 ตัน (120 x 25% = 30) • ควรจะเลือกตั้งโรงงานในสถานการณ์อย่างไร • ตั้งไว้ ณ จุดกึ่งกลางพอดี • ตั้งใกล้ตลาด - ใกล้วัตถุดิบ

  17. กรณีที่ 1 ตั้งไว้ ณ จุดกึ่งกลางพอดี ค่าขนส่งจากแหล่งวัตถุดิบไปยังโรงงาน = 2x120x50=12,000 $. ค่าขนส่งจากโรงงานไปยังตลาดลูกค้า = 2x90x50 = 9,000 $. ค่าขนส่งในกรณีที่ 1 รวมทั้งสิ้น = 21,000 $. 50 km 50 km

  18. กรณีที่ 2 ตั้งใกล้แหล่งตลาด ค่าขนส่งจากแหล่งวัตถุดิบไปยังโรงงาน = 2x120x70=16,800 $. ค่าขนส่งจากโรงงานไปยังตลาดลูกค้า = 2x90x30 = 5,400 $. ค่าขนส่งในกรณีที่ 2 รวมทั้งสิ้น = 22,200 $. 70 km 30 km

  19. กรณีที่ 3 ตั้งใกล้แหล่งวัตถุดิบ ค่าขนส่งจากแหล่งวัตถุดิบไปยังโรงงาน = 2x120x30= 7,200 $. ค่าขนส่งจากโรงงานไปยังตลาดลูกค้า = 2x90x70 = 12,600 $. ค่าขนส่งในกรณีที่ 3 รวมทั้งสิ้น = 19,800 $. 30 km 70 km สรุปควรตั้งโรงงานไว้ใกล้แหล่งวัตถุดิบ เพราะให้ค่าใช้จ่ายขนส่งต่ำสุด

  20. รูปแบบของการบริการขนส่งรูปแบบของการบริการขนส่ง • ต้นทุนของการขนส่งระหว่างประเทศจะอยู่ในราว 35-50% ของต้นทุนในการกระจายสินค้า และอยู่ในราว 20% ของต้นุทนกิจการทั้งหมด • การเลือกวิธีการขนส่งที่ดีจะช่วยลดต้นทุนได้ ดังนั้นจึงควรเลือกรูปแบบการขนส่งที่เหมาะสมต่อสภาพสินค้า เส้นทางคมนาคม ระยะเวลาที่ลูกค้ารอคอย ค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณที่เหมาะสม ซึ่งประกอบด้วย • ยานพาหนะส่วนตัว (Private Carrier) • ยานพาหนะสาธารณะ (Common Carrier) • ยานพาหนะที่ทำสัญญา (Contact Carrier)

  21. ธุรกิจขนส่ง (logistics Business) • ธุรกิจขนส่งในปัจจุบันมีบทบาทสำคัญกับทุกอุตสาหกรรมทั้งในระดับประเทศและระดับโลก • ธุรกิจขนส่งเหล่านี้มี ยานพาหนะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งเครื่องบิน เรือขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก รถยนต์รถบรรทุก รถกระบะ รถตู้ คอนเทนเนอร์ • และพนักงานส่งของที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งสินค้าทั่วโลกได้ในเวลาอันรวดเร็ว คุ้มกับค่าขนส่งที่ค่อนข้างราคาแพง

More Related