1 / 63

กศน.ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน

กศน.ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อาทิตย์ 25 มีนาคม 2550 ห้องประชุมโรงเรียนพณิชการราชดำเนิน-ธนบุรี เวลา 9.30-10.30น. www.charuaypontorranin.com. ทำไมต้องเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน. ทำไมต้องกศน.เป็นผู้ขับเคลื่อน เศรษฐกิจชุมชน

gzifa
Download Presentation

กศน.ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กศน.ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนกศน.ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อาทิตย์ 25 มีนาคม 2550 ห้องประชุมโรงเรียนพณิชการราชดำเนิน-ธนบุรี เวลา 9.30-10.30น. www.charuaypontorranin.com

  2. ทำไมต้องเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนทำไมต้องเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน • ทำไมต้องกศน.เป็นผู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน • 20 คำถามยอดนิยมของเศรษฐกิจพอเพียง • ตัวอย่างคนไทยที่ทำได้ผลดีเป็นที่ยกย่องในแวดวงธุรกิจ • กระทรวงศึกษาธิการกับโครงการเศรษฐกิจพอเพียง • แนวบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา • แหล่งค้นหาตัวอย่างและข้อมูลดีๆ ในศูนย์การเรียนรู้กศน • การนำมาใช้กับคนที่เรียนกศน.จะทำได้หรือไม่และอย่างไร

  3. ปัจจัยที่ทำให้คนไทยมีความสุข(เอแบคโพลล์ 12 มีนาคม 2550) • อันดับแรกคือ วัฒนธรรมประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของคนไทย เช่น ความจงรักภักดี ความมีไมตรีจิต เกื้อกูลมีน้ำใจต่อกัน งานบุญงานบวช • ความเป็นอิสระ การรักความสันโดษ • ความปลาบปลื้มต่อโครงการพระราชดำริ โดยเฉพาะ การใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • ครอบครัว • บรรยากาศภายในชุมชน

  4. คนใช้ชีวิตพอเพียงสุขมากกว่าคนที่ไม่ได้ใช้ความพอเพียงถึง 4 เท่า (เอแบคโพลล์ 12มีนาคม2550) • ผลวิจัยพบด้วยว่า ประชาชนที่ใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับผลสำรวจเดือนมกราคม คือจากร้อยละ 32.1 มาอยู่ที่ร้อยละ 39.0 • ประชาชนที่ใช้ชีวิตแบบพอเพียงมีจำนวนคนที่มีความสุขระดับมากกว่าเกือบ 4 เท่าของคนที่ใช้ชีวิตแบบไม่พอเพียงคือร้อยละ 54.4 ต่อร้อยละ 14.9

  5. ทำไมขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนทำไมขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 1.เป็นปรัชญาสำคัญยิ่งในการ ลดความยากจน 2.เป็นพื้นฐานสร้างศักยภาพชุมชนเป็นฐานพัฒนาประเทศ 3.ช่วยยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจที่เน้นผลกำไรระยะยาวที่มีการแข่งขัน -

  6. ทำไมขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนทำไมขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 4.สำคัญยิ่งต่อการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ 5.สร้างภูมิคุ้มกันต่อสถานการณ์ที่กระทบฉับพลันและส่งเสริมการเติบโตที่เสมอภาคและยั่งยืน 6.ปลูกฝังจิตสำนึกพอเพียง ต้องปรับเปลี่ยนค่านิยมและความคิดของคนเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาคน

  7. รหัสการพัฒนาคนยุคใหม่แบบตะวันตก: เน้น ความรู้(Knowledge)อำนาจ(Power)และเงิน(Money) 1.ช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมากขึ้น ปัญหาจาก พัฒนาแบบตะวันตก ที่ มุ่งความรู้+ +อำนาจ+เงิน 2.ทำลาย สิ่งแวดล้อม 3.วิกฤติ ทางสังคม 4.ทำลายวัฒนธรรมและจิตวิญญาณ 53

  8. รหัสการพัฒนาคนยุคใหม่แบบรหัสการพัฒนาคนยุคใหม่แบบ เศรษฐกิจพอพียงของในหลวง : GCK G: Goodnessความดี รหัสการ พัฒนาคนตาม กระแสเศรษฐกิจ พอพียง K:Knowledge ความรู้ C:Community ทักษะชุมชน 54

  9. คำถามเก่า คำถามใหม่ ทำลายสิ่งแวดล้อม ความเพียร ความดี คืออะไร ทำอย่างไร จะรวย เรียนรู้เข้าถึงความดี ความมีน้ำใจ คอรัปชั่น เอาเปรียบ ละเมิด สิทธิมนุษย์ พัฒนาจิต ความซื่อสัตย์ อบายมุข สิ่งแวดล้อม ยาเสพติด ค้ากำไรเกินควร ความประหยัด เศรษฐกิจพอเพียง ความเสื่อมเสียทางจริยธรรม

  10. แผนส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยฉบับที่1แผนส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยฉบับที่1 • ใช้ควบคู่กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) • จะเน้นกลุ่มเป้าหมายวัยแรงงาน อายุระหว่าง 15-39 ปี ได้มีโอกาสเรียนระดับมัธยมได้ 50% • กลุ่มอายุ15-59 ปี และประชาชนไทยทั่วไป ได้เข้าถึงการศึกษาตามอัธยาศัยได้ 50% • ชุมชนทั่วประเทศ กำหนดรูปแบบหรือกำหนด แหล่งเรียนรู้ได้อย่างน้อย 1 แห่ง

  11. 10 ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนแผนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1.สร้างนิสัยคนไทยให้ใฝ่รู้ 2.สร้างโอกาสให้ทุกคนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ (ลุยถึงที่) 3.สร้างเครือข่ายการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย (4,500แห่ง) 4.พัฒนาคนในชุมชนเรียนรู้ร่วมกัน 5.สร้างเวทีชาวบ้านสร้างนักประชาสังคม

  12. 10 ยุทธศาสตร์แผนการศึกษานอกระบบและอัธยาศัย 6.พัฒนารูปแบบการเรียนรู้เป็นทางเลือกที่หลากหลาย(ตอบโจทย์ในใจผู้เรียน) 7.สร้างการเชื่อมโยงการเรียนกับภาคีเครือข่าย 8.พัฒนาการบริหารจัดการของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามหลักธรรมาภิบาล 9.พัฒนาบุคลากรของกศน.และเครือข่าย 10.นำเทคโนโลยีมาช่วยทำงานให้ดีขึ้น

  13. กศน. เปิดศูนย์รับเทียบระดับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจำนวน 21แห่ง ตั้งแต่ปี 2548 • ขณะนี้ มีผู้ขอเทียบระดับการศึกษาฯ แล้ว 3 รุ่น ดังนี้ • รุ่นที่ 1 มีผู้ขอเทียบ 1,740 คน ผ่าน 550 คน • รุ่นที่ 2 ขอเทียบ 2,693 คน ผ่าน 1,705 คน และ • ในรุ่นที่ 3 มีผู้ขอเทียบ4,282 คน จะประกาศผลในเมษายนนี้ • การขอเทียบระดับการศึกษาฯ จะมีระดับประถม 6, ม.3 และ ม.6 โดยประเมิน4ด้านจาก ด้านความรู้ขั้นพื้นฐาน เช่น ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ด้านประสบการณ์อาชีพ ด้านทักษะการพัฒนาคุณภาพชีวิต และ ด้านทักษะด้านสังคม

  14. 20คำถาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๑.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไรตอบ เป็นแนวคิดของในหลวง พระราชทานมากว่า25ปี ชี้ถึงแนวทางปฏิบัติตน โดยคำนึงถึงความพอประมาณความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี

  15. 20 คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๒.ทำไมภาคเกษตรได้รับความสนใจนำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้มากกว่าสาขาอื่นๆ ตอบ เป็นแนวคิดเป็นรูปธรรมเหมาะกับเกษตรกรไทย ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่. คำถามข้อ๓.การปลูกข้าว ๕ ไร่ และการมีบ่อน้ำในพื้นที่เป็นเศรษฐกิจพอเพียง หรือไม่ ตอบเป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งของการนำเกษตรทฤษฏีใหม่ สามารถปรับให้เหมาะแต่ละสภาพและใช้กับอาชีพอื่นได้

  16. 20 คำถาม เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๔.เกษตรทฤษฎีใหม่ใช้ได้ทั่วประเทศหรือไม่ ตอบได้ แต่ให้ปรับตามสภาพพื้นที่ซึ่งมีดิน และน้ำอย่างไร คำถามข้อ๕. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความเชื่อมโยงกับความเป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างไร ตอบช่วยสร้างชุมชนเข้มแข็งในเชิงความคิด ความร่วมมือกันอย่างสมดุล

  17. 20คำถาม เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๖. เศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมให้ผลิตเพื่อบริโภคเองเท่านั้น แต่ไม่ส่งเสริมการผลิตเพื่อค้าขายใช่หรือไม่ ตอบไม่ใช่ ขึ้นกับมีเหลือนำไปขายได้ทั้งในระดับค้าขาย ในชุมชน ระดับชาติและส่งออก คำถามข้อ๗. ถ้าใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะต้องเลิกค้าขายกับภายนอกใช่หรือไม่ ตอบไม่ใช่ เราต้องจัดการให้เหมาะ หากมีมาก ให้ขายโดยมีข้อคำนึงความพอดีพอประมาณ

  18. 20คำถาม เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๘. การผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก ขัดกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงใช่หรือไม่ ตอบไม่ขัด ให้มีการป้องกันความเสี่ยงด้วย คำถามข้อ๙. เศรษฐกิจพอเพียง ขัดต่อหลักการทางธุรกิจ ที่เน้นการหากำไรหรือไม่ ตอบไม่ขัด ควรกำไรอย่างมีคุณธรรม

  19. 20คำถาม เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๑๐. ถ้าเราใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เราสามารถใช้ของแพงหรือฟุ่มเฟือยหรือกู้ยืมเงินได้หรือไม่ ตอบกู้ได้แต่ไม่ใช้อย่างฟุ่มเฟือย ใช้เพื่อการลงทุนที่คุ้มค่า คำถามข้อ๑๑. แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมีความคิดแตกต่างจากแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลักอย่างไร ตอบเศรษฐกิจพอเพียงคำนึงปัจจัยรอบด้านไม่เฉพาะเชิงคุณค่าเงิน แต่คนอยู่ในสังคมที่มีมนุษยธรรม

  20. 20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๑๒. เศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนหรือไม่ ตอบสอดคล้องเพราะคำนึงถึงตนเอง ชุมชน และ สิ่งแวดล้อมด้วย คำถามข้อ๑๓. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายการเงิน การคลังได้หรือไม่ ตอบได้เพราะนโยบายการเงินก็ต้องมีเหตุผล คล่องตัวและระวัง

  21. 20คำถาม เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๑๔. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่สนใจสาขาการผลิตที่ทันสมัย จริงหรือไม่ ตอบไม่จริง ให้เริ่มจากรากฐานการผลิตที่พอเหมาะ แล้วขยายเพิ่มได้อย่างมีเหตุผล คำถามข้อ๑๕. การพัฒนาประเทศใช้กลไก การถ่ายโอนเทคโนโลยี จากต่างประเทศจะขัดกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หรือไม่ อย่างไร ตอบไม่ขัด สามารถเริ่มจากพึ่งตนเอง แล้วเพิ่มเทคโนโลยีได้โดยมีเหตุผล

  22. 20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๑๖. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะประยุกต์ใช้กับการพัฒนาระบบการศึกษาของไทยได้ หรือไม่ อย่างไร ตอบได้ เพระการศึกษาคือเครื่องมือพัฒนาคนให้รู้จักคิด ทำเป็นอย่างมีเหตุผล คำถามข้อ๑๗. แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิด อุดมคติหรือไม่ ตอบไม่ใช่ เป็นหลักที่เป็นรูปธรรม ไม่สุดโต่ง

  23. 20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๑๘. การดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ควรเริ่มต้นจากอะไร ตอบเริ่มจากเข้าใจความหมายและหลักการ ใช้กับตนเองและครอบครัวก่อน คำถามข้อ๑๙. เราจะประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในสังคมแต่ละระดับ อาทิ ระดับปัจเจกบุคคล ระดับชุมชน และระดับรัฐ ได้อย่างไร ตอบระดับบุคคลให้พึ่งตนเองได้ ระดับชุมชนแลกเปลี่ยนแบ่งปันร่วมกันทำ และระดับรัฐ ทำแบบก้าวหน้าและยั่งยืน

  24. 20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง20คำถามเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คำถามข้อ๒๐. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำไปใช้ได้กับคนทุกวัย และทุกศาสนาหรือไม่ ตอบใช้ได้กับคนทุกวัยและทุกชาติศาสนา เพราะเริ่มจากความดีงามของจิตใจและคำนึงประโยชน์สุขส่วนรวม สรุป ท่านเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเพียงพอหรือยัง

  25. ตัวอย่างคนไทยที่ใช้วิถีเศรษฐกิจพอเพียงทำได้ผลดีเป็นที่ยกย่องในแวดวงธุรกิจตัวอย่างคนไทยที่ใช้วิถีเศรษฐกิจพอเพียงทำได้ผลดีเป็นที่ยกย่องในแวดวงธุรกิจ โชค บูลกุล : ผู้พลิกฟื้นธุรกิจ ฟาร์มโชคชัยจากหนี้สิน 500ล้าน มาสู่ธุรกิจการเกษตรที่ยั่งยืนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

  26. นักธุรกิจหนุ่ม โชค บูลกุล“สำหรับผม เศรษฐกิจพอเพียง คือ สติ ” "ถ้าเราไม่เอาความโลภของตนเองไปเปรียบเทียบกับคนอื่นที่เขามี... ตกหลุมพรางของกระแสเห็นคนอื่นเขามีก็อยากมีบ้าง... หลักของเศรษฐกิจพอเพียง (1) การอยู่อย่างพอประมาณ คือ เราไม่ไปเปรียบเทียบสิ่งที่เราขาดกับสิ่งที่คนอื่นมี (2) ความมีเหตุมีผล คือ เราเอาความรู้และประสบการณ์ของเรามาพัฒนาต่อยอด และ (3) มีภูมิคุ้มกัน คือ เราอยู่อย่างพอเพียง รักษากระแสเงินสดในมือ ไม่กู้หนี้ยืมสินอีก

  27. การบริหารงานบนปรัชญา 10 ประการของ นักธุรกิจหนุ่ม โชค บูลกุล • 1.ผู้บริหารต้องมีไหวพริบและสัญชาตญาณที่จะคาดเดาผลลัพธ์ได้ถูกต้องกว่าผู้อื่นหรือใกล้เคียงความเป็นจริงให้มากที่สุด • 2.ให้ความสำคัญกับทรัพยากรมนุษย์และการสร้างผู้บริหารระดับกลางขึ้นมาทดแทน เพื่อการขยายวงจรของงาน หรือเพิ่มความรอบคอบในการทำงานกันเป็นทีมพร้อมทั้งเพิ่มทักษะในการสื่อสารกันภายในองค์กร • 3. เข้าใจจุดยืนขององค์กร รู้ถึงศักยภาพและความเสี่ยงขององค์กรอย่างชัดเจน

  28. นักธุรกิจหนุ่ม โชค บูลกุล“เศรษฐกิจพอเพียง คือปรัชญาที่ลึกซึ้ง สามารถนำไปประยุกต์ได้” • 4. บริหารงานอย่างเป็นระบบและรู้จักขั้นตอนของการทำงาน เริ่มต้นจาก มีความอดทน มุ่งมั่น รับผิดชอบ และมีวินัยในการทำงาน • 5. มีความคิดสร้างสรรค์และมีจินตนาการอยู่ตลอดเวลา แต่เวลาลงมือทำต้องเป็นมืออาชีพ หรือมีความคิดที่นอกกรอบแต่ตัวเองมีศักยภาพที่จะทำได้ จงคิดแบบเด็กแล้วทำแบบผู้ใหญ่ แต่อย่าคิดแบบผู้ใหญ่แล้วทำแบบเด็ก หรือคิดบนความฟุ้งเฟ้อ คิดเพียงความมั่งคั่ง แต่ไร้ความมุ่งมั่น

  29. นักธุรกิจหนุ่ม โชค บูลกุล“ผมอยากให้ทุกท่านเป็นคนชอบตั้งคำถามว่า ทำไมๆ” • 6. ความยั่งยืนของธุรกิจต้องมาจากการกล้าที่จะคิดและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลงธุรกิจให้สอดคล้องไปกับกระแสของโลก 7. นักบริหารวันนี้จะต้องรอบคอบแต่ฉับไวใน การตัดสินใจหรือทำแผนนโยบายขององค์กร 8. ธุรกิจต้องถูกดำเนินไปอย่างโปร่งใสและมีคุณธรรม เพื่อให้คณะผู้บริหารไม่หลงทางไปติดกับดัก หรือสิ่งที่พยายามปกปิดเอาไว้ หรือสร้างความคลุมเครือในนโยบายต่อผู้ปฏิบัติงานในองค์กร

  30. โชค บูลกุล ต้นตำนานคาวบอยเมืองไทยเขาไม่เพียงแต่พลิกธุรกิจที่เคยติดลบให้ทำกำไร แต่ยังพัฒนาให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวติดอันดับ และเป็นฟาร์มโคนมที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • 9. อย่าเอาสิ่งที่เราขาดไปเปรียบเทียบกับสิ่งที่คนอื่นมี เพราะในบางครั้งอาจทำให้เราท้อแท้และเกิดความโลภ เมื่อนั้นเป้าหมายและจุดยืนของธุรกิจของเราจะเกิดความคลุมเครือ ซึ่งจะทำให้ผู้บริหารขาดสมาธิในการวิเคราะห์โจทย์ ขาดความเชื่อมั่นในการกำหนดแผนงาน และท้ายที่สุดลงเอยด้วยความผิดพลาดนั่นเอง 10. ต้องมีจังหวะหรือตัวช่วย “โชค”

  31. กรณีของบริษัทปูนซิเมนต์ไทย ต้นแบบขององค์กรแห่งความพอเพียง • หลักของความพอประมาณเติบโตบนพื้นฐานความเชี่ยวชาญเบื้องลึก และเน้นความเกี่ยวเนื่องของธุรกิจเพื่อสร้างผลผนึกทางธุรกิจบริหารค่าจ้างและสวัสดิการด้วยความสมดุล • หลักความมีเหตุมีผล เน้นถึง ตัดสินใจบนพื้นฐานของเชิงคิดอย่างเป็นระบบ เช่น การสรรหาบุคลากรตามคุณลักษณะ "คนดีและคนเก่ง" และยังให้ความสำคัญกับนโยบาย ตลาดแรงงานภายใน ยึดมั่นคุณค่าและสร้างขวัญกำลังใจกับบุคลากร • หลักการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี สร้างภูมิคุ้มกันจากความร่วมมือเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของพนักงานคุณภาพที่มีส่วนร่วมในการดำเนินงานอย่างมาก รวมถึงโครงการพัฒนาภาวะผู้นำขององค์กรอย่างต่อเนื่อง

  32. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา:การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา: ปี2550กระทรวงศึกษาธิการชูนโยบาย คุณธรรมนำความรู้ 1.วิถีประชาธิปไตย(บริหารจัดการแบบทุกคนมีส่วนร่วม/สอดแทรกใน การสอน/จัดกิจกรรมสภานักเรียน/เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น /มีเครือข่ายทำงานร่วมกัน) 2.สมานฉันท์(จิตสำนึกเป็นพวกเดียวกัน/ มีเอกภาพในความหลากหลาย/เป็นมิตรต่อกัน/พึ่งพาอาศัยกัน/ไว้วางใจกัน/สร้างพลังร่วมของหมู่คณะ) 3.สันติสุข( คารวะธรรม/ปัญญาธรรม /สามัคคีธรรม) 4.ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง(พอประมาณ /มีเหตุผล /มีภูมิคุ้มกันในตัว)

  33. หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้(รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง) ชีวิตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล มั่นคง และยั่งยืน

  34. หลักของความพอประมาณ(พอดี)5ประการข้อสรุปของสภาพัฒน์ฯหลักของความพอประมาณ(พอดี)5ประการข้อสรุปของสภาพัฒน์ฯ เข็มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม 1 พอดีด้านจิตใจ 2 พอดีด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน 3. พอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ และเกิดความยั่งยืนสูงสุด รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน 4.พอดีด้านเทคโนโลยี 5. พอดีด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน

  35. หลักของความมีเหตุผล5ประการหลักของความมีเหตุผล5ประการ ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพ ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขายประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง ไม่หยุดนิ่งที่หาสิ่งยึดเหนี่ยวให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ปฏิบัติตนในทางที่ดี ลด ละ เลิก กิเลสให้หมดสิ้น ไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผู้อื่น รักษาความดีให้งอกงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

  36. หลักของความ มีภูมิคุ้มกัน 2 ประการ 1.ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง 2. ภูมิธรรม : ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันอดทนและแบ่งปัน

  37. วัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาทุกระดับทั้งในและนอกระบบ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กร บริหารการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ สู่การดำรงชีวิต เฉลิมพระเกียรติ 60 ปีครองราชย์และ80พรรษา ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้ในชุมชน สร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตที่พอเพียง

  38. วิธีจัดการให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาวิธีจัดการให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา • 1. วางระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาให้ เป็นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • 2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการเพื่อสร้างค่านิยม • 3. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

  39. เป้าหมาย สร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ระยะแรก2549 สร้างความรู้ความเข้าใจและกระแสสนับสนุนเกี่ยวกับปรัชญาฯ สร้างผู้นำ สถานศึกษาต้นแบบ เกิดการพัฒนาและสร้างคนที่มีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้

  40. ขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลักขยายผลสู่สถานศึกษาระดับองค์กรหลัก องค์กรหลักนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในทุกมิติ และขับเคลื่อนสู่หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโดยความสมัครใจ ระยะสอง2550 เป็นต้นไป ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ติดตามประเมินผลและรายงานผล นำทูลเกล้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา กำหนดเป็นนโยบายต่อเนื่องสู่การปฏิบัติและยั่งยืน

  41. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  42. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  43. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  44. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  45. แนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา

  46. หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง ป.1 ปฏิบัติตนดี มีความพอเพียง -รับผิดชอบตนเอง- ใช้เงินประหยัด- รู้จักออม- รู้จักแบ่งปัน ป.2 ชีวิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพียง - รับผิดชอบต่อครอบครัว- มีวินัยการจ่าย- ชื่นชมปฏิบัติตนพอเพียง ป.3 ภูมิใจในตน ชุมชนของเรา - รับผิดชอบต่อชุมชุม - ประหยัด - วิเคราะห์รายรับรายจ่ายตนเอง- มีส่วนร่วมภูมิใจชีวิตครอบครัว

  47. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ป4. ชีวิตมีคุณค่า พึงพอเศรษฐกิจพอเพียง - เข้าใจรายรับ -รายจ่าย • สำรวจภูมิปัญญาชาวบ้าน -วิเคราะห์พระราชดำริเรื่องวินัย + หิริโอตตัปปะปะ ป.5 ชีวิตพอเพียงไม่เสี่ยงความยากจน - นำหลักเศรษฐกิจมาใช้ ในครอบครัว - วิเคราะห์ชุมชน • ร่วมอนุรักษ์/ช่วยเหลือชุมชน- วิเคราะห์พระราชดำริ เรื่องขยัน/ซื่อสัตย์

  48. หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง ป.6- วิถีชีวิตไทยภูมิใจเศรษฐกิจพอเพียง • เข้าใจชุมชน/ออกสำรวจชุมชน - นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเปรียบเทียบกับครอบครัว • วิเคราะห์พระราชดำริเรื่อง สามัคคี + พึ่งตนเอง ม.1 ตามรอยพ่อต่ออายุทรัพยากร - เข้าใจปรัชญา - นำแนวคิดมาใช้กับตนเอง

  49. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ม.2 รอบรั้วบ้านเรา • สำรวจปัญหาของชุมชน • เสนอข้อแก้ไขปัญหาชุมชน ม.3 ชุมชนพัฒนา - เข้าใจเศรษฐกิจไปสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม+วัฒนธรรม - มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาชุมชน

  50. คุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 เศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน • เข้าใจการบริหารองค์กรวิสาหกิจชุมชน • นำแนวทางวิสาหกิจชุมชนมาใช้ในชีวิต ม.5 เศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาประเทศ - เข้าใจนำไปพัฒนาประเทศ - นำปรัชญาระดับชาติมาใช้ในชีวิตตนเอง ม.6 เศรษฐกิจพอเพียงกับโลกาภิวัตน์ - เข้าใจโลกาภิวัตน์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง - เข้าใจการพัฒนาประเทศให้สมดุล - ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน

More Related