1 / 39

การตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวาน

การตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวาน. บริษัทโรชไดแอกโนสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด. ณัฎฐิยา สุธีพิเชฐภัณฑ์ Diabetes nurse educator. ผลกระทบของโรคเบาหวาน. เมื่อผู้เป็นเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี ปลายประสาทเสื่อม หลอดเลือดส่วนปลายตีบตัน

Download Presentation

การตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวานการตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวาน บริษัทโรชไดแอกโนสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด ณัฎฐิยา สุธีพิเชฐภัณฑ์ Diabetes nurse educator

  2. ผลกระทบของโรคเบาหวาน เมื่อผู้เป็นเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี ปลายประสาทเสื่อม หลอดเลือดส่วนปลายตีบตัน เท้าชา เท้าผิดรูป ผิวแห้ง เกิดแผลเรื้อรังที่เท้า แผลติดเชื้อ ถูกตัดเท้าหรือขา

  3. การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI

  4. การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI

  5. เชื้อราที่เล็บ

  6. เล็บขบ

  7. ผิวแห้งแตก

  8. หนังหนาๆ(Callus)

  9. “Today callus Tomorrow ulcer”

  10. การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI

  11. เท้าผิดรูป Claw toes

  12. หนังหนาๆจากเท้าผิดรูปหนังหนาๆจากเท้าผิดรูป Callus

  13. เท้าผิดรูป Charcot Foot

  14. เท้าผิดรูป Prominent MTH

  15. เท้าผิดรูป Bunion

  16. การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI

  17. การใช้ เส้นเอ็นขนาด 5.07ตรวจกด น้ำหนัก 10กรัม • มีงานวิจัยพบว่า 5.07 monofilament (10 กรัม) มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับการเกิดแผล • พบว่าผู้เป็นเบาหวานที่ไม่รู้สึกจากการตรวจด้วย monofilament อย่างน้อย 1 จุด มีโอกาสจะเกิดแผลที่เท้าถึง10 เท่า และมีโอกาสถูกตัดเท้าถึง 17 เท่า

  18. การใช้ เส้นเอ็นขนาด 5.07ตรวจกด น้ำหนัก 10กรัม

  19. ตำแหน่งที่ตรวจ

  20. การเตรียมmonofilamentก่อนตรวจการเตรียมmonofilamentก่อนตรวจ • monofilament มี 2 แบบ • 2 ตรวจสอบสภาพ monofilament ต้องตรง ไม่คดงอ หรือบิด • 3 เมื่อจะเริ่มใช้ monofilamentในการตรวจแต่ละวันให้กด 2 ครั้งก่อน • เริ่มตรวจครั้งแรกเพื่อให้ความยืดหยุ่น ของ monofilament เข้าที่ • 4 monofilament แต่ละอันไม่ควรใช้ตรวจผู้ป่วยต่อเนื่องกันเกินกว่า • 10 รายหรือเกินกว่า 100 ครั้งในวันเดียวกัน ควรพักการใช้อย่างน้อย • ประมาณ 24 ชั่วโมงเพื่อให้ monofilament คืนตัวก่อนนำมาใช้ใหม่

  21. วิธีการตรวจด้วยmonofilament • อธิบายขั้นตอนการตรวจให้ผู้ป่วยเข้าใจก่อน โดยการกด • monofilament ที่ท้องแขนผู้ป่วยเพื่อให้ทราบและเข้าใจถึงความรู้สึก • 2 ให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอน จัดวางเท้าให้เหมาะสมต่อการตรวจ • 3 เมื่อจะเริ่มตรวจให้ผู้ป่วยหลับตา • 4 แตะmonofilamentในแนวตั้งฉากกับผิวหนัง ค่อยๆ กดลงจน • งอเพียงเล็กน้อยและค้างไว้ 1-1.5 วินาที จึงเอาออกและให้ผู้ป่วย • บอกว่ามี monofilamentมาแตะหรือไม่

  22. วิธีการตรวจด้วยmonofilament 4 เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยตอบตามความรู้สึกจริงไม่ได้แกล้งเดา ในแต่ละ ตำแหน่งให้ตรวจ 3 ครั้ง โดยตรวจจริง 2 ครั้ง และตรวจหลอก 1 ครั้ง 5 ถ้าผู้ป่วยตอบความรู้สึก ได้ถูกต้อง 2 ใน 3 ครั้ง (ซึ่งรวมการตรวจ หลอกด้วย1ครั้ง) แปลว่ามี protective sense อยู่ 6 ถ้าผู้ป่วยตอบความรู้สึกได้ 1ใน 3 ครั้ง หรือตอบไม่ถูกเลย ให้ตรวจซ้ำ หากตรวจซ้ำแล้ว ยังคงตอบถูกพียง 1 ครั้ง แสดงว่าผู้ป่วยมี การรับความรู้สึกผิดปกติ 7 การรับความรู้สึกผิดปกติแม้เพียงตำแหน่งเดียว แปลว่าเท้าสูญเสีย protective sensation

  23. อาการของเส้นประสาทที่เท้าเสื่อมอาการของเส้นประสาทที่เท้าเสื่อม ร้อนเท้าเหมือนไฟลวก เจ็บปวดเหมือนมีเข็มแทง รู้สึกแปลกๆ เหมือนมีมดไต่ กระตุกเหมือนถูกไฟช๊อต

  24. การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI

  25. การคลำชีพจรที่เท้า

  26. การคลำชีพจรที่เท้า

  27. การตรวจประเมินหลอดเลือดเพิ่มเติมการตรวจประเมินหลอดเลือดเพิ่มเติม ABI ( Ankle-brachial pressure Index)

  28. การตรวจประเมินหลอดเลือดการตรวจประเมินหลอดเลือด ◙ABI ( Ankle-brachial pressure Index) ABI = Systolic BPของขาแต่ละข้าง Systolic BPของแขนข้างที่สูงสุด >0.9 - 1.3ปกติ 0.5 - 0.9 intermittentcladication (ปวดขามากหรือน่องมากเวลาเดินนั่งพักแล้วดีขึ้น) < 0.5 rest pain, gangrene

  29. จัดลำดับความเสี่ยงที่จะเกิดแผลที่เท้าจัดลำดับความเสี่ยงที่จะเกิดแผลที่เท้า

  30. ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏ เท้ารูปร่างปกติ หลอดเลือดปกติ ระบบประสาทที่เท้ารับความรู้สึกได้ดี ๏ จัดอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงต่ำ(0) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ ในเกณฑ์ ดูแลเท้าตามคำแนะนำทุกวัน ให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุกปี ชนิดของรองเท้า ใส่สบายและเหมาะสม

  31. ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏ เท้ารูปร่างปกติ หรือผิดปกติ หลอดเลือดปกติ ระบบประสาทรับความรู้สึกที่เท้าไม่ดี ๏ จัดอยู่ในกลุ่ม ความเสี่ยงปานกลาง(1) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ ดูแลเท้าตามคำแนะนำทุกวัน ใส่รองเท้าและถุงเท้าตลอดเวลาให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุก3-6เดือน ชนิดของรองเท้า รองเท้ากีฬา หรือ รองเท้าแตะมีสายรัดส้น หากมีความพิการที่เท้า รองเท้าควรมีความลึกปรับให้เหมาะสมกับลักษณะของเท้า

  32. ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏ หากเท้าคุณปกติหรือผิดรูป หลอดเลือดอุดตัน ระบบประสาทรับความรู้สึกที่เท้าดี/ไม่ดี ๏ จัดอยู่ในกลุ่ม ความเสี่ยงสูง(2) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ ดูแลเท้าตามคำแนะนำทุกวัน ใส่ถุงเท้าตลอดเวลา ส่งพบผู้เชี่ยญด้านหลอดเลือดหากมีปัญหาหลอดเลือด ให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุก2-3 เดือน ชนิดของรองเท้า รองเท้ากีฬา หรือ รองเท้าแตะมีสายรัดส้น หากมีความพิการที่เท้า รองเท้าควรมีความลึกปรับให้เหมาะสมกับลักษณะของเท้า

  33. ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏มีประวัติตัดนิ้ว/เท้ามาก่อนหรือมีประวัติเป็นแผลที่เท้า ๏ จัดอยู่ในกลุ่ม ความเสี่ยงสูงมาก(3) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ ดูแลเท้า ตามคำแนะนำทุกวัน ใส่ถุงเท้า รองเท้าตลอดเวลา ตลอดเวลา หากเส้นเลือดอุดตัน ส่งพบแพทย์เฉพาะทางเพื่อรักษา ให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุก 1เดือน ชนิดของรองเท้า เหมือนกับกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง(2)และอาจ เสริมแผ่นรองในรองเท้าตามความเหมาะสม

  34. การแยกชนิดของแผลที่เท้าการแยกชนิดของแผลที่เท้า 1 แผลขาดเลือด มักเกิดบริเวณนิ้วเท้า แผลมักจะลุกลามจากส่วยปลายนิ้ว มายังโคนนิ้ว ขอบแผลเรียบ ก้นแผลมีสีซีดไม่มีเลือดออก เท้าเย็น คลำชีพจร ปวดเท้า Dorsalis pedis และ posterior tibial ได้เบาลง หรือ คลำไม่ได้ 2 แผลติดเชื้อ มีลักษณะบวม แดง ร้อน กดเจ็บที่แผลและรอบแผล มีหนอง มีไข้ ส่วนแผลที่อักเสบเรื้อรัง จะมีอาการบวมแดงร้อนไม่มาก 3 แผลปลายประสาทเสื่อม มักเกิดบริเวณฝ่าเท้า โดยเฉพาะตำแหน่งที่มีการ รับน้ำหนัก ขอบแผลนูนจากหนังหนา(Callus)ก้นแผลมีสีแดง มักไม่มีอาการเจ็บแผล

  35. การตรวจประเมินแผล

  36. อย่าลืมตรวจเท้ากันนะคะอย่าลืมตรวจเท้ากันนะคะ

More Related