1 / 19

บทที่ 5

บทที่ 5. การแสดงผลและการรับข้อมูล ( Data Output and Input). การแสดงผลข้อมูลด้วยเมธอด println หรือ print(). รูปแบบการใช้งาน System.out.println (argument 1 + argument 2 + ... + argument n ) หรือ System.out.print (argument 1 + argument 2 + ... + argument n ) โดยที่

jalene
Download Presentation

บทที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)

  2. การแสดงผลข้อมูลด้วยเมธอด printlnหรือ print() รูปแบบการใช้งาน System.out.println(argument1 + argument2 + ... + argumentn) หรือ System.out.print(argument1 + argument2 + ... + argumentn) โดยที่ argument1, argument2,argumentnเป็นข้อมูลที่ต้องการแสดงผล อาจจะเป็นข้อความ ตัวแปร หรือนิพจน์ ซึ่งสามารถเขียนต่อกันได้ โดยใช้เครื่องหมาย “+”

  3. รหัสควบคุมการแสดงผล

  4. ข้อแตกต่างระหว่างเมธอด println() และ print() • เมธอด println() เมื่อแสดงผลแล้วตัวชี้ตำแหน่งจะอยู่ตำแหน่งต้นของบรรทัดใหม่ • เมธอด print() เมื่อแสดงผลแล้วตัวชี้ตำแหน่งจะอยู่ตำแหน่งสุดท้ายของข้อมูลที่แสดงผล ดังตัวอย่างต่อไปนี้

  5. การแสดงผลข้อมูลด้วยเมธอด printf() รูปแบบการใช้งาน System.out.println(Control_String, argument1, argument2, ..., argumentn) โดยที่ Control_Stringประกอบด้วย รหัสควบคุมการแสดงผล, รหัสการแสดงผล และส่วนขยายรหัสการแสดงผล argument1, argument2,argumentnเป็นข้อมูลที่ต้องการแสดงผล

  6. รหัสการแสดงผลและส่วนขยายรหัสการแสดงผลรหัสการแสดงผลและส่วนขยายรหัสการแสดงผล

  7. ตัวอย่างการใช้งานเมธอด printf()

  8. การแสดงผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (1) • ใช้เมธอด showMessageDialog() มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ JOptionPane.showMessageDialog(Parent_Window,Message, Title,Type); โดยที่ Parent_Window เป็นชื่อของ parent window ที่ต้องการแสดงผล ถ้าค่าเป็น null จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์กลางหน้าจอ Message เป็นข้อความที่ต้องการแสดงในไดอะล็อกบ็อกซ์ Title เป็นข้อความที่ปรากฏในส่วนของ Title bar ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้

  9. การแสดงผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (2) Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้ ERROR_MESSAGE เป็นการแสดงข้อผิดพลาด และแสดงสัญลักษณ์ INFORMATION_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป และแสดงสัญลักษณ์ PLAIN_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป โดยไม่มีการแสดงสัญลักษณ์ QUESTION_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะคำถาม และแสดงสัญลักษณ์ WARNING_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะแจ้งเตือน และแสดงสัญลักษณ์ ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดค่าในส่วนของ Title และ Type • Title จะถูกกำหนดเป็น “Message” • Type จะถูกกำหนดเป็น INFORMATION_MESSAGE

  10. ตัวอย่างการทำงานของเมธอด showMessageDialog()

  11. การจัดรูปแบบการแสดงผลด้วยคลาส DecimalFormat • ใช้เมธอด format() มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ DecimalFormatdf= new DecimalFormat(argument); String str= df.format(payment); โดยที่ argument เป็นรูปแบบการแสดงผลที่ต้องการ ประกอบด้วย • 0 แทนตัวเลข 0 ในกรณีที่ต้องการให้แสดงตัวเลข • “#” แทนตัวเลขใดๆ ที่ไม่ใช่ 0 ในกรณีที่เป็นเลข 0 จะไม่แสดงผล • “,” ให้แสดงผลโดยมีเครื่องหมาย “,” เป็นตัวคั่นในหลักพัน dfเป็นชื่อออบเจ็กต์ของคลาสที่สร้างขึ้น str เป็นชื่อตัวแปรที่ใช้รับค่าที่กำหนดรูปแบบ

  12. ตัวอย่างการใช้งานเมธอด format()

  13. การรับข้อมูลด้วยคลาส InputStreamReader • ทำงานร่วมกับคลาส BufferredReaderรับข้อมูลครั้งละ 1 บรรทัด • ใช้เมธอด readLine() ซึ่งเป็นการรับข้อมูลชนิดข้อความ (String) • จะต้อง import แพ็คเกจ java.io ก่อนเสมอ มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ InputStreamReader reader = new InputStreamReader(System.in); BufferedReaderstdin = new BufferedReader(reader); หรือ BufferedReaderstdin = new BufferedReader(new InputStreamReader(System.in)); โดยที่ reader เป็นชื่อออบเจ็กต์ของคลาส InputStreamReader stdin เป็นชื่อออบเจ็กต์ของคลาส BufferedReader

  14. ตัวอย่างการรับข้อมูลด้วยคลาส InputStreamReader

  15. การรับข้อมูลชนิดข้อความด้วยคลาส Scanner • รับข้อมูลชนิดของข้อมูลเป็นข้อความหรือตัวเลขก็ได้ • ต่างจากการรับข้อมูลด้วยคลาส InputStreamReader ที่รับข้อมูลได้เฉพาะข้อความเท่านั้น • การใช้งานคลาส Scanner ต้องสร้างออบเจ็กต์จากคลาส Scanner ก่อน • จะต้อง import แพ็คเกจjava.util.Scanner และประกาศออบเจ็กต์ตามรูปแบบ ดังนี้ Scanner sn = new Scanner(System.in); โดยที่ sn เป็นชื่อออบเจกต์ที่สร้างจากคลาส Scanner System.in เป็นช่องทางการนำเข้าข้อมูลมาตรฐาน หมายถึง การอ่านข้อมูลจากแป้นพิมพ์

  16. เมธอดของคลาส Scanner • nextInt() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนเต็ม • nextFloat() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนทศนิยมชนิด float • nextDouble() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนทศนิยมชนิด double • nextLine() สำหรับรับข้อมูลประเภทข้อความ

  17. การรับผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (1) • ใช้เมธอด showInputDialog() มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ String data = JOptionPane.showInputDialog(Parent_Window, Message, Title, Type); โดยที่ Parent_Window เป็นชื่อของ parent window ที่ต้องการแสดงผล ถ้าค่าเป็น null จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์กลางหน้าจอ Message เป็นข้อความที่ต้องการแสดงในไดอะล็อกบ็อกซ์ Title เป็นข้อความที่ปรากฏในส่วนของ Title bar ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้

  18. การรับผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (2) Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้ ERROR_MESSAGE เป็นการแสดงข้อผิดพลาด และแสดงสัญลักษณ์ INFORMATION_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป และแสดงสัญลักษณ์ PLAIN_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป โดยไม่มีการแสดงสัญลักษณ์ QUESTION_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะคำถาม และแสดงสัญลักษณ์ WARNING_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะแจ้งเตือน และแสดงสัญลักษณ์ ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดค่าในส่วนของ Title และ Type • Title จะถูกกำหนดเป็น “Input” • Type จะถูกกำหนดเป็น QUESTION _MESSAGE

  19. ตัวอย่างการทำงานของเมธอด showInputDialog()

More Related