1 / 19

มาตรการของภาครัฐในการรับมือ EU Directive (WEEE/RoHS/EuP)

มาตรการของภาครัฐในการรับมือ EU Directive (WEEE/RoHS/EuP). นายอดิศักดิ์ ทองไข่มุกต์ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ 30 สิงหาคม 2549. ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. จัดเป็นวัตถุอันตรายประเภทที่ 3 จำแนกได้เป็น 10 ประเภท. 1. ผลิตภัณฑ์ฯ ครัวเรือนขนาดใหญ่. 3. อุปกรณ์ IT.

job
Download Presentation

มาตรการของภาครัฐในการรับมือ EU Directive (WEEE/RoHS/EuP)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรการของภาครัฐในการรับมือEU Directive (WEEE/RoHS/EuP) นายอดิศักดิ์ ทองไข่มุกต์รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ 30 สิงหาคม2549

  2. ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • จัดเป็นวัตถุอันตรายประเภทที่ 3 จำแนกได้เป็น 10 ประเภท 1. ผลิตภัณฑ์ฯ ครัวเรือนขนาดใหญ่ 3. อุปกรณ์ IT 2. ผลิตภัณฑ์ฯ ครัวเรือนขนาดเล็ก 4. อุปกรณ์อุปโภค 5. อุปกรณ์ให้แสงสว่าง 7. เครื่องมือไฟฟ้า +อิเล็กทรอนิกส์ 6. เครื่องมือวัด/ ควบคุม 8. อุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์9. ของเล่นไฟฟ้า+อิเล็กทรอนิกส์10. เครื่องจำหน่ายสินค้าอัตโนมัติ

  3. สถานการณ์ปัจจุบัน • ขยะอิเล็กทรอนิกส์มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ~12% ต่อปี ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2547

  4. สถานการณ์ปัจจุบัน • มีศักยภาพการนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ค่อนข้างสูง ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2547

  5. สถานการณ์ปัจจุบัน • การนำเข้า-ส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย

  6. สถานการณ์ปัจจุบัน • ระบบการจัดการภายในประเทศยังไม่ได้มาตรฐาน

  7. สถานการณ์ปัจจุบัน • มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศมีมากขึ้น WEEE RoHS LPEUR HARL EuP

  8. สถานการณ์ปัจจุบัน • มีการลักลอบนำเข้าสินค้าคุณภาพต่ำจากต่างประเทศ

  9. วงจรผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์วงจรผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กรมควบคุมมลพิษ กฎหมาย กำกับดูแลโดยอก. ควบคุมโดยกลไกตลาด กำกับดูแลโดยอปท. ยุทธศาสตร์ เศษชิ้นส่วน/ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน การส่งออกEEE โครงการนำร่อง ต้องปรับปรุง / WEEE การผลิต EEE ร้านซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า การจำหน่ายในประเทศ เศษ/ชิ้นส่วนที่ไม่มีมูลค่า การนำเข้าEEE ซ่อมแซม ยังใช้ได้ เปลี่ยนซ่อม WEEEที่กำจัดไม่ถูกต้อง การเก็บรวบรวมโดย อปท./ซาเล้ง การใช้ในประเทศ ขายชิ้นส่วน การนำเข้าEEE ใช้แล้ว ทิ้ง ไม่สามารถใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เศษ/ชิ้นส่วนที่ไม่มีมูลค่า ขาย ร้านจำหน่ายชิ้นส่วน การนำเข้าWEEE การคัดแยก/ถอดแยกชิ้นส่วน ชิ้นส่วนที่ยังใช้ได้ (ซาเล้ง/ร้านร้บซื้อของเก่า) โรงงานรีไซเคิล (3R) วัตถุดิบ/โลหะมีค่า กำกับดูแลโดยอก. ขาย เศษชิ้นส่วน/ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน สถานที่กำจัดที่ได้รับอนุญาต เศษชิ้นส่วนที่ไม่มีมูลค่า

  10. คณะทำงาน

  11. บริหารจัดการ กลไกการเงิน พัฒนาเทคโนโลยีวิธีการ กฎหมาย เสริมความสามารถการเรียนรู้ มีส่วนร่วม แนวทางแก้ไขปัญหา • เป้าหมาย: • อัตราการรวบรวม 50%ในปี 2554 • อัตราการรีไซเคิล 50% ในปี 2554 • มีโรงงานคัดแยก+รีไซเคิล WEEE ที่เกิดขึ้นในประเทศ • อุตสาหกรรมไฟฟ้าฯไทยออกแบบ/ผลิตเพื่อคัดแยก+ • รีไซเคิลเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก • มีศูนย์จัดการ HW ชุมชนของอปท. 1 แห่งในปี 2554

  12. สาระสำคัญของยุทธศาสตร์สาระสำคัญของยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเทคโนโลยี และวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการWEEE ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างขีดความสามารถ กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการWEEE ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างประสิทธิภาพการบังคับใช้ก.ม.และพัฒนาระบบก.ม.ที่เอื้ออำนวยต่อการจัดการWEEE ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากลไกทางการเงินการคลังและการลงทุนเพื่อสนับสนุนการจัดการ WEEE ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการWEEE

  13. (ร่าง)พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดการของเสียอันตรายจากผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้ว พ.ศ.....

  14. โครงการที่เกี่ยวกับกรมควบคุมมลพิษโครงการที่เกี่ยวกับกรมควบคุมมลพิษ • โครงการรับคืนซากแบตเตอรี่มือถือ • โครงการเรียกคืนซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ • โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเก็บรวบรวม ขนส่ง และกำจัดของเสียอันตรายจากชุมชน

  15. โครงการรับคืนซากแบตเตอรี่มือถือโครงการรับคืนซากแบตเตอรี่มือถือ

  16. โครงการนำร่องเพื่อการรีไซเคิลซากหลอดฟลูออเรสเซนต์โครงการนำร่องเพื่อการรีไซเคิลซากหลอดฟลูออเรสเซนต์

  17. โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพ อปท. ในการรวบรวม ขนส่ง และกำจัดของเสียอันตรายจากชุมชน

  18. Road Map การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ ลำดับความสำคัญประเภทผลิตภัณฑ์ฯ • CT, Green Product Development • Capacity building for โรงงานรีไซเคิล ซาเล้ง ร้านรับซื้อของเก่า ข้อมูลทางเทคนิค • การนำเข้า/ส่งออก • ปริมาณการผลิต/การจำหน่าย • ความเป็นอันตราย • LCA data กฎหมาย/มาตรการภาครัฐ ประชาชน/ผู้บริโภค มาตรฐาน • การศึกษา • จิตสำนึกการเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • พ.ร.บ. จัดการซากฯ • จัดซื้อจัดจ้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • พัฒนามาตรฐาน • Networking and Capacity building for laboratories

  19. ขอบคุณ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม http://www.pcd.go.th

More Related