1 / 35

สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน

สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน. รอบเดือน ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552. สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน. สถานบริการ : โรงพยาบาล. สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน. สถานบริการ : สถานีอนามัย. ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ. ปีงบประมาณ 2552. ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ.

lars
Download Presentation

สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน รอบเดือน ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552

  2. สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : โรงพยาบาล

  3. สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : สถานีอนามัย

  4. ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ ปีงบประมาณ 2552

  5. ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ

  6. สถานการณ์ด้านการเงินการคลังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง รอบเดือน ตุลาคม 2552 - ธันวาคม 2552

  7. ผลการดำเนินงานตามรายตัวชี้วัดหลักผลการดำเนินงานตามรายตัวชี้วัดหลัก รอบเดือน ธันวาคม 2552

  8. วิเคราะห์ สภาพคล่องทางการเงิน

  9. อัตราส่วนทางการเงิน CR QR

  10. Cash Ratio

  11. สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียนสินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน สินทรัพย์ หนี้สิน

  12. ระยะหมุนเวียนถัวเฉลี่ยลูกหนี้ NON UC

  13. ระยะหมุนเวียนถัวเฉลี่ยลูกหนี้ NON UC

  14. ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ วัน

  15. ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้

  16. ระยะถัวเฉลี่ยการหมุนเวียนวัสดุคงคลังระยะถัวเฉลี่ยการหมุนเวียนวัสดุคงคลัง

  17. วิเคราะห์ ความสามารถในการทำกำไร

  18. วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร

  19. วิเคราะห์ต้นทุน

  20. ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ RW ไตรมาส1-53 รพท.= 23,153 รพช.>30= 18,356 รพช.<30 = 22,059

  21. เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อRWกับต้นทุนบริการต่อRWเปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อRWกับต้นทุนบริการต่อRW รพท.= 23,153 รพช.>30= 18,356 รพช.<30 = 22,059 รพท.= 18,147 รพช.>30= 12,696 รพช.<30 = 15,547

  22. ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อOPD Visit ไตรมาส1-53 รพท.= 1,215 รพช.>30= 646 รพช.<30 = 659

  23. เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ OPD Visit กับต้นทุนบริการต่อOPD Visit รพท.= 1,215 รพช.>30= 646 รพช.<30 = 659 รพท.= 942 รพช.>30= 458 รพช.<30 = 463

  24. จำนวนผู้รับบริการ ผู้ป่วยนอก(ครั้ง) ผู้ป่วยใน(คน)

  25. Operating Analysis

  26. ทุนสำรองสุทธิ

  27. I/E Ratio

  28. รายรับและรายจ่ายในการดำเนินงานรายรับและรายจ่ายในการดำเนินงาน

  29. อัตราการครองเตียง/อัตราการใช้เตียงอัตราการครองเตียง/อัตราการใช้เตียง STD:70 STD : 50

  30. อัตราการรับผู้ป่วยในต่อผู้ป่วยนอก/สัดส่วนRefer in ต่อ Refer out STD : 3% STD:0.10

  31. อัตราการตายผู้ป่วยใน/Length Of Stay(LOS)

  32. สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 1 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ดีมากมี อัตราส่วนทุนหมุนเวียน มากกว่า 1.5 และมีความสามารถในการชำระหนี้ค่อน ข้างสูงได้แก่ รพ.กระบี่ รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม และรพ.ลำทับ • 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรอง หรือมีอัตราเงินทุนหมุนเวียนเดิมเพียงพออยู่แล้ว และมีทุนสำรองสุทธิ ณ ปัจจุบัน สามารถดำรงอยู่ได้มากกว่า 6 เดือน • 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีระบบการบริหารจัดการภายในโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม เช่น มีระบบศูนย์กลางการเรียกเก็บและจัดเก็บลูกหนี้ มีระบบการบริหารภาระหนี้สิน สังเกตุได้จาก ระยะถัวเฉลี่ยวันหมุนเวียนของลูกหนี้/เจ้าหนี้ไม่เกิน 90 วัน และโรงพยาบาลมีระบบศูนย์จำหน่ายผู้ป่วย มีระบบการตรวจสอบสิทธิการรักษาที่มีประสิทธิภาพ มีแผนการเงินรองรับการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย • 3. โรงพยาบาลมีระบบการควบคุม กำกับ ติดตาม วิเคราะห์ปัญหาทางด้านการเงินการคลัง และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ

  33. สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 2 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ มีสภาพคล่องไม่ดีนัก และแต่ยังคงมีอัตราส่วน เงินสดที่อยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งแสดงถึงยังคงมีความสามารถในชำระหนี้ระยะสั้น โรงพยาบาลในกลุ่มนี้ระยะยาวต้อง มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุมมากขึ้น และต้องปรับระบบการบริหารจัดการด้านการเงินให้ เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย ได้แก่ รพ.ปลายพระยา รพ.เหนือคลอง • 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองเพียงพอ ต่อค่าใช้จ่ายประเภท Fixed Cost แต่สำหรับค่าใช้จ่ายในส่วน Variable Cost และการลงทุนในประเภทสินทรัพย์ครุภัณฑ์ ต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม • 2. โรงพยาบาลมีระบบการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ในขอบเขตจำกัด เนื่องจากปัญหาสภาพพื้นที่ ปัญหาเงินทุนสำรองที่มีอยู่อย่างจำกัด และความต้องการพัฒนาคุณภาพงานบริการ สภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ภายนอกองค์กร ดังนั้น เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงิน จะต้องมีปรับระบบการบริหารจัดการให้เกิดสภาวะสมดุลด้านรายรับและรายจ่าย และปรับลดการลงทุนในสินทรัพย์ที่ไม่คุ้มค่าคุ้มทุน

  34. สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 3 กลุ่มโรงพยาบาลที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน โรงพยาบาลกลุ่มนี้ความสามารถในการชำระหนี้ และความสามารถ ในการทำกำไรค่อนข้างต่ำ เนื่องจากโรงพยาบาลจะต้องแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูงและต้องแบกรับภาระต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการมาก ถึงแม้จะมีการเพิ่มช่องทางการเก็บรายได้ และสามารถจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นก็ตาม โรงพยาบาลในกลุ่มนี้จะต้องประคับประคองการใช้จ่ายเงิน ควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย ให้มีการใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล และเป็นไปตามแผน และต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุม และต้องอาศัยเงินสนับสนุน ช่วยเหลือจากส่วนกลาง ได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึก และโรงพยาบาลเกาะลันตา • กลุ่มที่3 : กลุ่มโรงพยาบาลที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน โรงพยาบาลกลุ่มนี้ความสามารถในการชำระหนี้ และความสามารถในการทำกำไรค่อนข้างต่ำ เนื่องจากโรงพยาบาลจะต้องแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูงและต้องแบกรับภาระต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินการมาก ถึงแม้จะมีการเพิ่มช่องทางการเก็บรายได้ และสามารถจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นก็ตาม โรงพยาบาลในกลุ่มนี้จะต้องประคับประคองการใช้จ่ายเงิน ควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย ให้มีการใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล และเป็นไปตามแผน และต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุม และต้องอาศัยเงินสนับสนุนช่วยเหลือจากส่วนกลาง ได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึก และโรงพยาบาลเกาะลันตา ปัจจัยที่ส่งผลกระทบได้แก่ • 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองค่อนข้างน้อยมาก รายได้ส่วนใหญ่ได้จากเงินกองทุน UC ขณะที่ต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายงบบุคลากรค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่เพิ่มขึ้น • 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูง เนื่องจากมีกำลังในการชำระหนี้น้อยมาก ทำให้เกิดสภาพหนี้สินทวีคูณ • 3. โรงพยาบาลกลุ่มนี้มีแนวคิดในการบริหารจัดการ ซึ่งได้มีการจัดทำ Financial Reform รองรับ แต่ส่วนใหญ่อยู่ในขอบเขตจำกัด เช่น การบริหารภาระหนี้สิน ไม่สามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายชำระหนี้ให้ทันภายในกรอบเวลา ได้แก่ เจ้าหนี้การค้ายา/เวชภัณฑ์ ค่าตอบแทนบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่างๆ • 4. เกิดจากปัญหาสภาพพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรงพยาบาลเกาะลันตา ซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกล การคมนาคมไม่สะดวก การพัฒนาด้านต่างๆ ค่อนข้างดำเนินการได้จำกัด

  35. ข้อเสนอและแนวทางการแก้ปัญหาข้อเสนอและแนวทางการแก้ปัญหา • รพ.เกาะลันตา ขอสนับสนุนเงินช่วยเหลือเป็นเงิน 2,334,708.15 บาท จากเงินเหลือจ่ายปี49-51โดยโอนจากรพ.คลองท่อม • โรงพยาบาลที่เข้าข่ายประสบปัญหาได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึกให้จัดทำแผน และกำหนดมาตรการรองรับ • ขอความร่วมมือผู้บริหารของหน่วยบริการเข้าร่วมประชุมCFO จังหวัดทุกครั้ง เนื่องจากหลายประเด็นต้องอาศัยอำนาจการตัดสินใจของผู้บริหาร

More Related