1 / 47

ยุทธศาสตร์การบูรณาการ งานทันตสาธารณสุข ปี 2558

ทพญ.สุปราณี ดาโลดม สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 26 สิงหาคม 2557. ยุทธศาสตร์การบูรณาการ งานทันตสาธารณสุข ปี 2558. บูรณา การยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 10 ด้าน. บูรณาการระบบบริการระดับปฐมภูมิ (สป.) บูรณาการระบบบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ

Download Presentation

ยุทธศาสตร์การบูรณาการ งานทันตสาธารณสุข ปี 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทพญ.สุปราณี ดาโลดม สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 26 สิงหาคม 2557 ยุทธศาสตร์การบูรณาการ งานทันตสาธารณสุข ปี 2558

  2. บูรณาการยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 10 ด้าน • บูรณาการระบบบริการระดับปฐมภูมิ (สป.) • บูรณาการระบบบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (กรมอนามัย) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน (กรมอนามัย) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น (กรมสุขภาพจิต)

  3. บูรณาการยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 10 ด้าน • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (กรมคร.) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ (กรมพ.) • บูรณาการด้านพัฒนาระบบการควบคุมโรค (กรมคร.) • บูรณาการด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค (อย.) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม(กรมอ.)( Health & Environment)

  4. ผลกระทบการปฏิรูประบบ 1. ส่วนกลาง : สำนักทันตสาธารณสุข สถาบันทันตกรรม สำนักบริหารการสาธารณสุข เป็น regulatory body 2. บทบาท NHA กรมอนามัย : Policy leader, R&D, Technology transfer, Surveillance, Monitor& Evaluation 3. ศูนย์อนามัยเขต :- บทบาท NHA ร่วมกับส่วนกลาง - ร่วมกับจังหวัดสนับสนุนให้เกิดการแก้ปัญหาของประชาชนในจังหวัด 4. จังหวัด : Service provider - ปัญหาสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัยของจังหวัด (มีหรือยัง) - มาตรการแก้ไขปัญหาแบบผสมผสาน (ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู) และบูรณาการ : โครงการ / กิจกรรม + งบประมาณแก้ปัญหา ผ่านเขตบริการสุขภาพ 12 เขต

  5. การดำเนินงานสนับสนุนของกรมต่างๆการดำเนินงานสนับสนุนของกรมต่างๆ

  6. ภาพรวมงบประมาณยุทธศาสตร์กระทรวงปี 58(ล้านบาท)

  7. งานทันตสาธารณสุข ปี 2558 • บูรณาการ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ 10 แผน • ระบบบริการปฐมภูมิ • กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย • กลุ่มเด็กวัยเรียน 2. ภารกิจกรมอนามัย - ฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ - คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า - กลุ่มวัยทำงาน - คุ้มครองผู้บริโภค

  8. 1. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านระบบบริการระดับปฐมภูมิ ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข

  9. 1. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านระบบบริการระดับปฐมภูมิ • บริการระดับปฐมภูมิ หมายถึง การจัดบริการของสถานบริการที่ให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ผสมผสานทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู • พื้นที่บริการ : รพ.สต. 9762 แห่ง และ ศสม. 226 แห่ง รวม 9988 แห่ง • วัตถุประสงค์ :เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการ พัฒนาระบบการแพทย์ทางเลือก ปรับกระบวนทัศน์การบริการเชิงรุก • ผลลัพธ์ : ประชาชนได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพ เข้าถึงบริการใกล้บ้านใกล้ใจ และการจัดบริการร่วม เชื่อมโยงแบบไร้รอยต่อ • จุดเน้น :การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) • มาตรการที่ 1 :พัฒนาเครือข่ายการให้บริการระดับอำเภอ 13 โครงการ - พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ : Oral Health – District Health System

  10. - ข้อมูลพื้นที่ - งบประมาณ - จัดทำแผน เขต/จ.+ ตัวชี้วัด DHS/OH manager การพัฒนาศักยภาพทีมงานพื้นที่ ปัญหาทันตฯสำคัญในพื้นที่ โครงการแก้ปัญหา 4 กลุ่มวัย MHและเด็กเล็ก, วัยเรียน, วัยทำงาน(โรคเรื้อรัง), สูงอายุ + สิ่งแวดล้อม มาตรการแก้ปัญหา เครือข่ายร่วมแก้ปัญหา ติดตาม /ประเมินผล

  11. พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ (DHS) เพื่อการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปาก 4 ภาค • 2. พัฒนาบทบาทศูนย์อนามัยในการสนับสนุนระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปาก ระดับอำเภอ (DHS) และ ร่วมตรวจราชการ • 3. พัฒนาระบบประเมินผลแผนแก้ปัญหาระดับเขตและจังหวัด • 4. จัดประชุมนำเสนอผลการทำงานระดับเขต/จังหวัด และกำหนดทิศทางงาน ปี 2559 • 5. ติดตามการพัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุขระดับจังหวัด • 6. พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรในการเขียนบทความวิชาการ และ การ ประเมินผล • 7. เผยแพร่ผลงานพื้นที่ในรูปวารสารทันตสาธารณสุข

  12. 3. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพ เด็กและเยาวชน

  13. กิจกรรมทันตใน ANC, WCC ยังคงเดิม • Well Child Care program • เด็กได้รับการตรวจช่องปาก • พ่อแม่ได้รับคำแนะนำและฝึกทักษะแปรงฟันลูก • เด็กเสี่ยง (white lesion) ได้รับการทาfluoride varnish • ANC • ตรวจช่องปาก • ฝึกแปรงฟัน • บริการตามความจำเป็น

  14. 3-5 ปี ศพด.คุณภาพ (เด็กอนุบาล) • แปรงฟันทั่วทั้งปากด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ • ควบคุมอาหารหวาน จัดผลไม้ / อาหารเช้า • ตรวจช่องปากแจ้งผู้ปกครอง • กระตุ้นให้มีการแปรงฟันที่บ้านทุกวัน • ให้บริการอุดฟันอย่างง่าย

  15. ความเข้มแข็งของพ่อแม่และชุมชน(ในตำบลนมแม่)ความเข้มแข็งของพ่อแม่และชุมชน(ในตำบลนมแม่) • ฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ • กระตุ้นพ่อแม่ “อย่ายอมแพ้ • แนะนำให้เลือกเวลาแปรงฟันที่เหมาะสม ตอนอาบน้ำ • บทบาท อสม. ไปให้ถึงการแปรงฟัน

  16. - โครงการพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรระดับ CUP ในการจัดบริการบูรณาการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ปฐมวัย - โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (ตำบลฟันดี) - โครงการรณรงค์สร้างกระแสแม่แปรงฟันให้ลูก กิจกรรมโครงการ เด็กปฐมวัย

  17. 4. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพ เด็กและเยาวชน

  18. กรอบแนวคิด เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข • อ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 • ส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 70 • ความชุกโรคฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 • IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 • ร้อยละ 70 มี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ • การเสียชีวิตจากการจมน้ำ <6.5 ต่อแสน • พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีมาตรฐาน • สนับสนุนการจัดบริการในพื้นที่ • พัฒนาระบบเฝ้าระวัง • นิเทศ ติดตาม ประเมินผล • สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ • พัฒนาและสร้างความตระหนักแก่บุคลากร • พัฒนาคุณภาพอาหาร ขนม และเครื่องดื่ม • พัฒนาศักยภาพภาคี • ค้นหากลุ่มเสี่ยง การเข้าถึงบริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคใน โรงเรียน และชุมชน ภาคีเครือข่าย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน

  19. กิจกรรม/ โครงการเด็กวัยเรียน ปี 2558 • Technology Transfer • การพัฒนาศักยภาพ CUP ต้นแบบในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กตั้งแต่ อนุบาล-มัธยม • การรณรงค์ การแปรงฟัน 222 และการดื่มน้ำเปล่าเพื่อสุขภาพ • การฝึกอบรม เครือข่ายโรงเรียนแกนนำในการใช้ละครเพื่อการสร้างสรรค์สุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน • M&E • ติดตาม นิเทศ การทำงานของ CUP ต้นแบบ • การประเมินศักยภาพนักเรียนแกนนำในการสื่อสารสุขภาพ • ประเมินผลสภาวะสุขภาพช่องปาก

  20. กิจกรรม/ โครงการเด็กวัยเรียนปี 2558 • สร้างการมีส่วนร่วมของโรงเรียน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพช่องปากและจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ • โรงเรียนปลอดอาหารว่างและเครื่องดื่มเสี่ยงต่อสุขภาพ 5รายการ • นักเรียนไทย สุขภาพดี (มาตรฐานที่ 4 ) • เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี • เชื่อมโยงระบบเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนกับสุขภาพองค์รวม - ระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ-เฝ้าระวังโภชนาการ - ประเมิน ติดตาม กระบวนการดำเนินงานในระดับเขต และจังหวัด

  21. กิจกรรม/ โครงการเด็กวัยเรียนปี 2558 • พัฒนาศักยภาพและเพิ่มคุณภาพการทำงานทันตกรรมป้องกัน โดยอบรมทีมงานระดับ CUP/รพ.สต. ในงานทันตกรรมป้องกันของนักเรียน • อบรมทันตบุคลากรและทีมงานใน CUP ต้นแบบ • พัฒนาคุณภาพการจัดบริการทันตกรรมป้องกันในกลุ่มเด็ก • พัฒนาการทำงานด้วยกระบวนการเครือข่าย

  22. โครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพ วัยทำงานและผู้สูงอายุ

  23. เป้าหมายปีงบประมาณ 2558 • ขับเคลื่อนให้- ผู้สูงอายุและก่อนวัยสูงอายุ ๓๕,๐๐๐ คน ได้รับบริการใส่ฟันเทียมพระราชทาน - ผู้สูงอายุ ๑๐,๐๐๐ คน ได้รับบริการใส่ฟันเทียมบางส่วนที่มีคุณภาพ ทั้งโดยระบบบริการปกติของภาครัฐ คลินิกเอกชนร่วมจัดบริการ และรณรงค์จัดบริการในพื้นที่เป็นกรณีพิเศษ- ผู้สูงอายุ ๑๐๐,๐๐๐ คน สามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ผ่านทางชมรมผู้สูงอายุ ๓๐๐ ชมรม - ผู้สูงอายุ ๔๕,๐๐๐ คน ได้รับบริการส่งเสริมป้องกันผ่านหน่วยบริการ ปฐมภูมิ ๓๐๐ แห่ง

  24. การบูรณาการกับการส่งเสริมสุขภาพด้านอื่น ๆ • มาตรฐานผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ • ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ • การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) • วัดส่งเสริมสุขภาพ • หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ • การดูแลช่องปากผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง Dept. of Health

  25. มาตรฐานสุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์มาตรฐานสุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ Bureau of Dental Health Dept. of Health มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม มีฟันแท้หรือฟันเทียมใช้เคี้ยวอาหาร 20 ซี่ หรือ 4 คู่สบ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (รอบเอว / BMI) มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ

  26. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ ตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (HHC) มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล - ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก - บริการทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ มีระบบการดูแลผู้สูงอายุกลุ่ม 2 (ติดบ้าน) และกลุ่ม 3 (ติดเตียง)

  27. กิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุกิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุ • ขับเคลื่อนการดำเนินงานสร้างเสริมสุชภาพช่องปากผู้สูงอายุ - ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน 4 คณะ เพื่อพัฒนารูปแบบ แนวทาง รับรองมาตรฐานทางวิชาการ - ประชุมเครือข่ายการดำเนินงานในระดับเขต จังหวัด อำเภอ ตำบล และแกนนำชมรมผู้สูงอายุ - สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร คู่มือ สื่อ ที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานในพื้นที่ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ระดับประเทศ 1 ครั้ง

  28. กิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุกิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุ • สำรวจและเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ • สื่อสารและรณรงค์การดูแลสุขภาพช่องปาก และการจัดบริการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ อาทิเช่น - ต้นแบบการมีสุขภาพช่องปากดีในวัย 80 และ 90 ปี - รณรงค์จัดบริการใส่ฟันเทียมในพื้นที่พิเศษร่วมกับหน่วยทันตกรรมพระราชทาน และอื่น ๆ - สื่อสารผ่านสื่อสาธารณะ

  29. กิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุกิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุ • พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรในการดำเนินงานอย่างมีคุณภาพ - การอบรมฝึกทักษะทันตแพทย์ที่จบใหม่ในการใส่ฟันเทียมพระราชทานอย่างมีคุณภาพ (- การอบรมระยะสั้นหลักสูตรทันตกรรมผู้สูงอายุ หลักสูตร 4 เดือน) - การอบรมฝึกทักษะทันตแพทย์หลักสูตร 4R : Reline, Rebase, Repair, Renew - การประชุมสัมมนาทันตบุคลากร ด้านการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก - การประชุมพัฒนาศักยภาพภาคประชาชน • ติดตาม กำกับโครงการทั้งในระดับประเทศ เขตบริการสุขภาพ และระดับจังหวัด

  30. Model development : การดูแลสุขภาพช่องปากและ การให้บริการทันตกรรมสำหรับในกลุ่ม NCD

  31. Model: บูรณาการในการตรวจคัดกรองDM,HT 6th ACDOM 2014

  32. กิจกรรม / โครงการกลุ่ม NCD 1. ประชุม / สัมมนา : มาตรการให้บริการในกลุ่ม NCD 2. ประชุมชี้แจงเขตบริการสุขภาพและศูนย์อนามัย • และสนับสนุนการดำเนินการในพื้นที่เขตบริการสุขภาพ 3. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. ติดตาม กำกับ ประเมินผล

  33. บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมบูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ

  34. สื่อสารสาธารณะ • แผนการดำเนินงาน • รณรงค์วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ๒๑ ตุลาคม “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” • - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เทิดพระเกียรติสมเด็จย่า • - ประกวด 10 ยอดฟันดี วัย 80และ 90ปี วันที่ 16-17 ตค. • - เดิน-วิ่งมินิมาราธอน วันอาทิตย์ที่ ๑๙ ตุลาคม • - บริการทันตกรรมในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่คิดค่าบริการวันที่๒๑ ต.ค. • จัดนิทรรศการ เผยแพร่ข่าวสาร เสียงตามสาย วิทยุ สื่อมวลชน • ผลิตต้นแบบสื่อทันตสุขศึกษา • อบรม ผลิตภัณฑ์เพื่อการดูแลสุขภาพช่องปาก

  35. การเฝ้าระวังฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคชุมชนการเฝ้าระวังฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคชุมชน • แผนการดำเนินงาน • ตรวจวิเคราะห์ฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค • พัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ให้สามารถ • เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา • จัดประชุมนานาชาติ • “International Fluoride research ครั้งที่ 32” • พัฒนาฐานข้อมูล • พัฒนาต้นแบบและสนับสนุนพื้นที่ • เผยแพร่สื่อสารสาธารณะและสื่อสารความเสี่ยง

  36. การตรวจวัดปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคในสถานพยาบาลของรัฐการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคในสถานพยาบาลของรัฐ • แผนการดำเนินงาน • จัดระบบเฝ้าระวังปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคของโรงพยาบาลในสังกัดของรัฐ • เก็บตัวอย่างน้ำบริโภคจากสถานพยาบาลของรัฐ • ตรวจวิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำตัวอย่าง • แจ้งผลการตรวจวิเคราะห์ • จัดเก็บในฐานข้อมูลฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค • ให้คำแนะนำการพัฒนาคุณภาพน้ำดื่ม(ลดฟลูออไรด์ในน้ำ)เฉพาะจุดที่เกินมาตรฐาน • จัดรายงานผลและเผยแพร่ • ติดตามและประเมินผล

  37. คลินิกทันตกรรมต้นแบบควบคุมการปนเปื้อนของสารปรอทคลินิกทันตกรรมต้นแบบควบคุมการปนเปื้อนของสารปรอท จากวัสดุอุดฟันอมัลกัมในสถานพยาบาลของรัฐ • แผนการดำเนินงาน • ประชุมพัฒนาต้นแบบคลินิกทันตกรรมการควบคุมการปนเปื้อนของสารปรอทจากวัสดุอุดฟันอมัลกัม • ประชุมภาคีเครือข่ายชี้แจงการดำเนินงาน • ประชุมทันตบุคลากรเพื่อให้ความรู้เรื่องสารปรอทในสิ่งแวดล้อม • จัดทำสื่อต้นแบบและสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ • ติดตามงานและประเมินผลการดำเนินงานของคลินิกต้นแบบ • เป้าหมาย • คลินิกทันตกรรมสังกัดโรงพยาบาลของรัฐที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 แห่ง

  38. การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ดูแลทันตสุขภาพการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ดูแลทันตสุขภาพ ขอบเขต: เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ดูแลทันตสุขภาพที่วางจำหน่าย เช่น ยาสีฟัน แปรงสีฟัน น้ำยาบ้วนปาก • แผนการดำเนินงาน • เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ทันตสุขภาพ • ปรับปรุงมาตรฐานวิชาการแปรงสีฟัน กรมอนามัย • รับรองคุณภาพแปรงสีฟันติดดาวและบริการตรวจคุณภาพแปรง • ประชุมวิชาการ ISO/TC106 • พัฒนาฐานข้อมูล • พัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ และประชุมผู้ประกอบการ • เผยแพร่สื่อสารสาธารณะและสื่อสารความเสี่ยง

  39. การควบคุมการบริโภคยาสูบและตรวจคัดกรองรอยโรคก่อนมะเร็งช่องปากในแผนงานกลยุทธ์วิชาชีพทันตแพทย์เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบการควบคุมการบริโภคยาสูบและตรวจคัดกรองรอยโรคก่อนมะเร็งช่องปากในแผนงานกลยุทธ์วิชาชีพทันตแพทย์เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ • แผนการดำเนินงาน • รณรงค์วันงดบุหรี่โลก • ประชุมภาคีเครือข่าย • จัดทำสื่อต้นแบบและสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ • ติดตามงานและประเมินผลการดำเนินงานของคลินิกต้นแบบ

  40. การส่งเสริม การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากคนพิการ • พัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพช่องปากคนพิการในสถานศึกษาพิเศษ • พัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพช่องปากคนพิการในชุมชน • พัฒนาศักยภาพและขยายเครือข่ายทันตบุคลากรในการให้บริการทันตกรรมแก่คนพิการ • พัฒนาการบริหารจัดการและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

  41. ระบบข้อมูลสารสนเทศ ปี 58 • การได้มาของข้อมูล : ระบบรายงาน การสำรวจ โปรแกรมเฉพาะ เน้นพัฒนาการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานในทุกระดับเพื่อลดช่องว่าง • ประกาศชุดโครงสร้างมาตรฐานและมาตรฐานรายงานข้อมูลด้านสุขภาพ • สนับสนุนให้หน่วยงานภายในจังหวัดและเขตบริการฯสามารถเรียกใช้ข้อมูลจาก Data center • กำหนดบทบาทภารกิจหน่วยงานแต่ละระดับ

  42. บทบาทภารกิจของหน่วยงานบทบาทภารกิจของหน่วยงาน • ระดับ รพสต/โรงพยาบาล: จัดเก็บข้อมูลให้ครบถ้วนครอบคลุม ตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งออก ใช้ข้อมูลเพื่อการให้บริการเฝ้าระวัง • ระดับอำเภอ: กำกับความถูกต้อง ครบถ้วน, วิเคราะห์สถานการณ์ระดับอำเภอ เฝ้าระวังสถานการณ์ • ระดับจังหวัด : ประมวล individual เป็น summary ตาม standard report, กำกับติดตามความถูกต้อง ครบถ้วน, คืนข้อมูลให้หน่วยบริการ , วิเคราะห์สถานการณ์ระดับจังหวัด, เฝ้าระวังสถานการณ์ในพื้นที่

  43. มาตรฐานรายงานข้อมูลทันตสาธารณสุขมาตรฐานรายงานข้อมูลทันตสาธารณสุข • ประกอบด้วย 3 หมวด 20 ตาราง • รายงานการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุข • รายงานผลลัพธ์ด้านสุขภาพช่องปาก • รายงานการจัดบริการสุขภาพช่องปาก (รายงานจัดเก็บทุกกลุ่มอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงผู้สูงอายุ) ข้อมูลจากระบบแฟ้มมาตรฐานบุคคล 43 แฟ้ม

  44. ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวางแผนในพื้นที่ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวางแผนในพื้นที่ • ข้อมูลประชากรในพื้นที่แต่ละกลุ่มวัย • การดำเนินงานที่ผ่านมาและปัญหา อุปสรรค • มาตรการ/กิจกรรมแก้ปัญหาผสมผสานทั้งจังหวัด + ตัวชี้วัด • ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง • แหล่งข้อมูล

  45. การจัดทำแผนปฏิบัติการปี 2558 • ทำความเข้าใจในเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ของแต่ละยุทธศาสตร์ • จัดทำเป้าหมายของเขตบริการสุขภาพ / จังหวัด โดยอ้างอิงสถานการณ์และปัญหาของเขตบริการสุขภาพ / จังหวัด • จัดทำกิจกรรมที่สนองตอบผลผลิต ผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบ • บูรณาการกับหน่วยงานระดับจังหวัด เขต และเขตบริการสุขภาพ • นำเสนอแผนอำเภอ/จังหวัด เพื่อเสนอคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ

  46. Healthy People Healthy Environment

More Related