1 / 103

การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2557

การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2557. นายประเสริฐ เก็ม ประโคน กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ. บุรีรัมย์. ระบบบริการสุขภาพและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ. 2.IT. DATA CENTER. HARD WARE. MIS.

tass
Download Presentation

การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2557 นายประเสริฐ เก็มประโคน กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.บุรีรัมย์

  2. ระบบบริการสุขภาพและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศระบบบริการสุขภาพและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.IT DATA CENTER HARD WARE MIS ระบบพื้นฐาน tel, fax, e-mail, วิทยุ SOFT WARE PEOPLE WARE Indicator ที่ประชาชนได้รับ WECANDO 3.ประโยชน์ของประชาชน 1.ระบบสุขภาพ นสค. นสค. อสม. อสม.

  3. PARADIGM SHIFT : การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ บันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลาในการใช้ระดับหน่วยงาน ระดับอำเภอ และจังหวัด โดยการจัดส่ง สปสช.สนย.เป็นผลพลอยได้ บันทึกข้อมูลเพื่อส่ง สปสช.สนย. เพื่อการจัดสรรเงิน และไม่ได้นำไปใช้ในระดับหน่วยงาน

  4. STEP OF DEVELOPMENT IT FOR MIS 1.Data Source Hospital Base Community Base 2.Pre-Input Data System Setting HIS Programming Minimum Data set Guideline Standard Input Guideline 3.Input Data 4.Approve Quality Data Quality Control 5.Integrate Data Sent , Receive, Feedback, Edit, Audit 6.MIS & Publication Decision Making Accessibility

  5. STEP OF DEVELOPMENT IT FOR MIS 1.Data Source Hospital Base Community Base ผู้ป่วย Walk in มารับบริการ ออกให้บริการส่งเสริม ป้องกัน เชิงรุก ออกให้บริการผู้ป่วยเชิงรุก ออกสำรวจข้อมูลพื้นฐาน และความครอบคลุมการรับบริการต่างสถานบริการ ประเภทงานบริการเชิงรับ ประเภทงานบริการกึ่งสำรวจ ประเภทงานเชิงรุก ประเภทงานสำรวจ

  6. STEP OF DEVELOPMENT IT FOR MIS 2.Pre-Input Data HIS Programming System Setting รพ.บุรีรัมย์ ใช้ HOMC รพช.ใช้ HOSxP V.3.56.xx.xx ?? รพ.สต. ใช้ HOSxP PCU V.3.56.xx.xx Data Cleansing การตรวจสอบข้อมูลพื้นฐาน

  7. STEP OF DEVELOPMENT IT FOR MIS 3.Input Data Standard Input Guideline Minimum Data set Guideline แนวทางมาตรฐานการบันทึกข้อมูล การให้รหัส และการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม โดย สนย. แนวทางการบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพเพื่อการส่งข้อมูล 21/43 แฟ้ม โดย สปสช./สนย. แนวทางการบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพเพื่อการนำมาใช้ประโยชน์ระดับหน่วยงาน อำเภอ และจังหวัด

  8. STEP OF DEVELOPMENT IT FOR MIS 4.Approve Quality Data Quality Control On Going Quality Control โดย นำเข้า print ตรวจสอบ Tool ตรวจสอบ 21 แฟ้ม (OPPP NHSO V.1.4) Tool ตรวจสอบ 21 แฟ้ม (OPPP 2010 for 2557) Tool โปรแกรมการตรวจสอบฐานข้อมูลก่อนการส่งออก 43 แฟ้ม สำหรับ รพ.และ รพ.สต. โดย นายบุญเยี่ยม เจริญรัมย์ Tool โปรแกรมการตรวจสอบความเชื่อมโยงตารางที่เกี่ยวข้องกัน โดย นายวันนะ โกรดประโคน

  9. STEP OF DEVELOPMENT IT FOR MIS 5.Integrate Data : Data Center : HDC : NHSO : สนย. Sent Receive and Feedback Edit Audit 21 แฟ้มส่ง สปสช. คนตายมารับบริการ http://203.157.162.18/opbro/ คนตายมาคัดกรองฯ 43 แฟ้มส่ง สนย. EPI > 3 รายการต่อครั้ง (ไม่รวม OPV) http://op.nhso.go.th/op/ Synchronize เข้าDatacenter วัคซีนไม่สัมพันธ์กับอายุและเวลา http://korat.nhso.go.th/ora/opindiv/op.php?prov=&amphur=&hcode=&yymm=201309&yyyy=

  10. STEP OF DEVELOPMENT IT FOR MIS 6.MIS & Publication Decision Making Accessibility การเข้าถึงบริการตามกลุ่มอายุและกลุ่มโรค WECANDO ข้อมูล ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา สะท้อนประชากรในความรับผิดชอบของ นสค. ตอบสนอง ตัวชี้วัดกระทรวง จังหวัด ระบบข้อมูลสภาวะสุขภาพรายบุคคล ของประชาชน

  11. STEP 1 Data Source สำรวจข้อมูลพื้นฐาน (ก.ค.-ก.ย.ของทุกปี) ประชากรในเขตรับผิดชอบ ผู้ป่วยโรคเรื้องรังในเขตรับผิดชอบ คนตายในเขตรับผิดชอบ จำนวนบ้าน/ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบ Hospital Base รวบรวมข้อมูลไปรับบริการต่างสถานบริการ (ทุกเดือน) เด็ก 0-5 ปี ไปรับบริการฉีดวัคซีนที่อื่น (เก็บสมุดสีชมพู) หญิงตั้งครรภ์/หลังคลอดในเขตรับผิดชอบไปรับบริการฝากครรภ์ที่อื่น (สมุดแม่และเด็ก)

  12. STEP 2 Pre-Input Data 1. ปรับ Version HOSxP PCU เป็น 3.56.9.7 หรือ 3.56.10.11 ซึ่งรองรับการนำเข้า 43 แฟ้ม V.3.56.9.7 ส่งออก 21 แฟ้ม ถ้า Person เลือก all pp ได้ Type area 1,3 V.3.56.10.11 ส่งออก 21 แฟ้ม ถ้า Person เลือก all pp ได้ type area 1-4 2. ตั้งค่าระบบใน System Setting และข้อมูลพื้นฐาน รวมทั้ง ปรับปรุงตารางที่เกี่ยวข้อง ให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด

  13. HOSxP_PCU Version ของ รพ.สต. ณ 20/10/56

  14. STEP 3 Input Data Standard Input Guideline แนวทางมาตรฐานการบันทึกข้อมูล การให้รหัส และการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม โดย สนย. Minimum Data set Guideline แนวทางการบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพเพื่อการส่งข้อมูล 21 แฟ้ม โดย สปสช.

  15. แนวทางมาตรฐานการบันทึกข้อมูล การให้รหัส และการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม โดย สนย.สำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ สถานบริการระดับปฐมภูมิ (รพ.สต./PCU ใน รพ.) ส่ง จนท.ออกไปให้บริการภายนอก ปชช.มารับบริการ บริการนอกสถานที่ CS : Guideline Group 3 บริการบำบัดรักษา OP : Guideline Group 1 บริการส่งเสริมสุขภาพ PP : Guideline Group 2 การบันทึกข้อมูลและการทำสถิติกรณีเฉพาะด้าน Guideline Group 4 4.1 การตรวจคัดกรองโรคต่างๆ 4.2 การให้ยาตามคำร้องขอของผู้มารับบริการ (ขอยาเพิ่มเติมโดยไม่ใช้ยาเพื่อการรักษาปัจจุบัน) 4.3 การให้บริการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 4.4 กรณีแจ้งขอตรวจรักษาโรคแต่เปลี่ยนในไม่เข้ารับการบริการเมื่อถึงเวลา 4.5 กรณีเจ็บท้องคลอด โดยไม่ผ่าน OPD หรือ ER แล้วส่งต่อเข้าห้องคลอด 4.6 กรณีหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ในหน่วยบริการ

  16. Guideline 1.1 OP บริการบำบัดรักษาความเจ็บป่วยในสถานบริการ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd 3.Procedure_opd 4.Drug_opd 5.Charge_opd (ค่าบริการ) 6.Appointment ( กรณีมีการนัดต่อ) เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 3 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ 5 = สาเหตุการบาดเจ็บหรือได้รับพิษ ห้ามเลือก ประเภท 2,3

  17. Guideline 1.2 OP บริการบำบัดรักษาความเจ็บป่วยกรณีออกหน่วยเคลื่อนที่ในพื้นที่ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd 3.Procedure_opd 4.Drug_opd 5.Charge_opd (ค่าบริการ) 6.Community_activity เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 3 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ 5 = สาเหตุการบาดเจ็บหรือได้รับพิษ ห้ามเลือก ประเภท 2,3 เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 2.แฟ้ม Community_Activity รหัสการให้บริการ (Comactivity) รหัส กลุ่ม 2G0 รหัสหมู่บ้าน 01-98 00 = ทุกหมู่บ้าน

  18. Guideline 1.3 OP บริการบำบัดรักษาความเจ็บป่วยกรณีบริการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd 3.Procedure_opd 4.Drug_opd 5.Charge_opd (ค่าบริการ) 6.Community_activity เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 3 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ 5 = สาเหตุการบาดเจ็บหรือได้รับพิษ ห้ามเลือก ประเภท 2,3 เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 2.รหัสกลุ่มโรค (Diagcode) - ในกลุ่ม U50-U77 (แพทย์แผนไทยประยุกต์วินิจฉัย) - ในกลุ่ม M ถ้าแพทย์แผนปัจจุบัน พยาบาล หรือ จนท. วินิจฉัย

  19. Guideline 2 OP บริการบำบัดรักษาความเจ็บป่วย กรณีบริการทำสถิติ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd 3.Procedure_opd เงื่อนไขที่ต้องมี 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 3 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ 5 = สาเหตุการบาดเจ็บหรือได้รับพิษ ห้ามเลือก ประเภท 2,3 2. Servplace = 1

  20. Guideline 2 PP บริการส่งเสริมสุขภาพกรณีให้บริการใน/นอกหน่วยบริการ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd 3.Drug_opd (ถ้ามีจ่ายยา) 4.FP (เฉพาะกรณีวางแผนครอบครัว) 5.EPI (เฉพาะฉีดวัคซีน) 6.Nutrition (เฉพาะกรณีตรวจพัฒนาการเด็ก) 7.Prenatal (เฉพาะกรณีฝากครรภ์ครั้งแรก) 8.ANC (เฉพาะกรณีฝากครรภ์) 9.Postnatal (เฉพาะกรณีตรวจหลังคลอด) 10.Newborncare (เฉพาะกรณีตรวจทารกหลังคลอด) 11.Dental (เฉพาะกรณีตรวจสุขภาพช่องปาก) 12.Appointment (กรณีมีนัดต่อ) เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 2 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 2.รหัสกลุ่มโรค (Diagcode) หมวด รหัส Z

  21. Guideline 2 PP บริการส่งเสริมสุขภาพ กรณีการทำสถิติ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd 3.FP (เฉพาะกรณีวางแผนครอบครัว) 4.EPI (เฉพาะฉีดวัคซีน) 5.Nutrition (เฉพาะกรณีตรวจพัฒนาการเด็ก) 6.Prenatal (เฉพาะกรณีฝากครรภ์ครั้งแรก) 7.ANC (เฉพาะกรณีฝากครรภ์) 8.Postnatal (เฉพาะกรณีตรวจหลังคลอด) 9.Newborncare (เฉพาะกรณีตรวจทารกหลังคลอด) 10.Dental (เฉพาะกรณีตรวจสุขภาพช่องปาก) เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 2 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ 2. Servplace = 1

  22. Guideline 3 CS : Community Service บริการนอกสถานที่ หมวด 1 กิจกรรมบริการรายบุคคล หมวด 2 กิจกรรมบริการชุมชน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Activity แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Service 2.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย และบันทึกข้อมูลการจ่ายยา ค่ารักษา การนัดหมาย หรือแฟ้มอื่นๆ ตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องต่อไป

  23. Guideline 3 CS : Community Service กรณีการทำสถิติ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Service 2.Service 3.Community_Activity การวิเคราะห์ Servplace = 2

  24. Guideline 3.1 CS : Community Service การให้บริการหญิงตั้งครรภ์ในชุมขน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.ANC (เฉพาะกรณีที่เป็นการบริการฝากครรภ์) 2.Prenatal (เฉพาะกรณีที่ยังไม่เคยลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์) 3.Community_Service 4.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Comservice = 1A20 : เยี่ยมหญิงตั้งครรภ์แรก Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  25. Guideline 3.2 CS : Community Service การให้บริการหญิงหลังคลอดในชุมขน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Postnatal 2.Labor (เฉพาะกรณีที่ยังไม่เคยลงทะเบียนการคลอด) 3.Community_Service 4.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Comserviceกลุ่ม 1A21 Servplace =2 Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  26. Guideline 3.3 CS : Community Service การให้บริการทารกแรกเกิดในชุมขน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Newborncare 2.Newborn (เฉพาะกรณีที่ยังไม่เคยลงทะเบียนทารกแรกเกิด) 3.Community_Service 4.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Comserviceกลุ่ม 1A22 Servplace =2 Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  27. Guideline 3.4 CS : Community Service การตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคในชุมขน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Service 2.Ncdscreen (เฉพาะกรณีที่ตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง) 3.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Comserviceกลุ่ม 1B0 Servplace =2 Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  28. Guideline 3.5 CS : Community Service การตรวจสุขภาพช่องปากในชุมขนหรือในโรงเรียน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Service 2.Dental 3.Diagosis_opd (กรณีที่พบรอยโรค) 4.Service ข้อสังเกต มี Diagnosis เฉพาะที่พบรอยโรค Comserviceกลุ่ม 1D1, 1H0 Servplace =2 Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  29. Guideline 3.6 CS : Community Service การตรวจภาวะโภชนาการเด็กในชุมขนหรือในโรงเรียน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Service 2.Nutrition 3.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Comserviceกลุ่ม 1E1, 1H3 Servplace =2 Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  30. Guideline 3.7 CS : Community Service การให้บริการวัคซีนในชุมขนหรือในโรงเรียน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Service 2.EPI 3.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Comserviceกลุ่ม 1G0 Servplace =2 Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  31. Guideline 3.8 CS : Community Service การให้บริการกิจกรรมกายภาพบำบัดในชุมขน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Community_Service 2.REHAB 3.Service ข้อสังเกต ไม่มี Diagnosis Comserviceกลุ่ม 1G0 Servplace =2 Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  32. Guideline 4.1 กรณีเฉพาะด้านอื่นๆ : การตรวจคัดกรองโรคต่างๆ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd (เฉพาะการตรวจในสถานพยาบาล) 3.Community_service (เฉพาะการตรวจนอกสถานพยาบาล) เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 2 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 2.รหัสกลุ่มโรค (Diagcode) หมวด รหัส Z หรือ R กรณีตรวจพบความผิดปกติ Note : Field ที่สำคัญอื่นๆ ให้โปรแกรมดึงข้อมูลจาก PID ผู้ป่วย จากแฟ้มอื่น หรือให้ผู้บันทึกข้อมูลบันทึกเติมเติมตามความจำเป็นต่อไป

  33. Guideline 4.1 กรณีเฉพาะด้านอื่นๆ : การทำสถิติ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.specialPP

  34. Guideline 4.2 กรณีเฉพาะด้านอื่นๆ : การให้ยาตามคำร้องขอของผู้มารับบริการ และการทำสถิติ การขอยาโดยไม่มีอาการเจ็บป่วย 1.บันทึกเหตุผลที่ขอยาหรือวัสดุอุปกรณ์โดยไม่มีอาการเจ็บป่วย 2.บันทึกยาที่จ่าย 3.ลงรหัสโรคหลัก Z76.8 การขอยาเพิ่มเติมจากเหนือจากยาที่จำเป็น 1.บันทึกเหมือน Guideline 1 2.บันทึกยาที่จ่ายตามคำร้องขอ

  35. Guideline 4.6 กรณีเฉพาะด้านอื่นๆ : กรณีหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ในหน่วยบริการ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง 1.Service 2.Diagnosis_opd 3.Procedure_opd 4.Drug_opd 5.Charge_opd 6.ANC 7.Prenatal (เฉพาะกรณีที่ไม่เคยมา) เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 1.ประเภทการวินิจฉัย (Diag_type) มีค่าได้ 3 แบบ คือ 1 = การวินิจฉัยหลัก 4 = การวินิจฉัยอื่นๆ 5 = สาเหตุการบาดเจ็บหรือได้รับพิษ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง 2.Diagcode = Z30 เป็นโรคหลัก แต่ถ้าตรวจพบโรคไม่ใช้รหัส Z แต่ให้ใช้รหัส O เป็นรหัสหลัก

  36. แนวทางการบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพเพื่อการส่งข้อมูล 21 แฟ้ม โดย สปสช.

  37. มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ปี 2557 • ข้อมูลมาตรฐาน 21 แฟ้ม (เวอร์ชัน 5.0 1 ก.ค. 2555) PERSON SERVICE ANC DEATH DIAG PP CHRONIC DRUG MCH HOME PROCED EPI CARD SURVEIL FP WOMAN APPOINT NUTRI NCDSCREEN LABFU CHRONICFU

  38. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวมรูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวม • โครงสร้างมาตรฐานข้อมูล 21 แฟ้ม เวอร์ชัน 5.0 • รับข้อมูลทั้งหมด 21 แฟ้ม(เป็น zip file เดียวกัน) • แฟ้มใดไม่มีข้อมูลไม่ต้องส่ง (ส่งไม่ครบ 21 แฟ้มได้) • แฟ้ม APPOINT, CARD, WOMAN และ HOME จะรับข้อมูลไว้แต่จะไม่จัดเก็บลงฐานข้อมูล

  39. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวมรูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวม • ไม่รับแฟ้มข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่ถูกต้อง ซึ่งจะแจ้งเป็นแฟ้มข้อมูลเสียที่หน้าเว็บ ส่วนแฟ้มที่มีโครงสร้างถูกต้อง แต่ข้อมูลไม่ถูกต้องนั้นจะรับไว้ประมวลผล และจะรายงานเป็นข้อมูล error ตาม code ที่กำหนดไว้ • แฟ้ม SERVICE และ DIAG จะต้องส่งพร้อมกัน • แฟ้ม DRUG และ PROCED ถ้าต้องการส่ง จะต้องส่งพร้อมกับแฟ้ม SERVICE และ DIAG ทุกครั้ง

  40. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลทางเทคนิครูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลทางเทคนิค • รูปแบบแฟ้มข้อมูล เป็น Text file เท่านั้น • ชื่อแฟ้ม ,ชื่อฟิลด์ และลำดับฟิลด์ ต้องตรงกับโครงสร้างมาตรฐาน 21 แฟ้ม ที่ สนย.กำหนด (เวอร์ชัน 5.0) • ใช้เครื่องหมายไปป์( | ) คั่นระหว่างฟิลด์ • แนะนำให้ใส่ Header ด้วย (เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ) • ตัวอย่างแฟ้ม ANC = ANC.txt • PCUCODE|PID|SEQ|DATE_SERV|APLACE|GRAVIDA|ANCNO|GA|ANCRES|D_UPDATE|CID • 11111|013337|6146|20090117|11111|1|2|28|1|20090117101112|3159900012812 • 11111|000719|7622|20090314|11111|3|1|11|1|20090314092020|3157200027197 • 11111|000719|8394|20090412|11111|1|1|17|1|20090412163812|3124300023456 • 11111|014592|9534|20090530|11111|3|2|31|1|20090412205603|3159900076582

  41. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลทางเทคนิครูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลทางเทคนิค • รูปแบบการส่งแฟ้มข้อมูล • ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลตามที่ สนย. กำหนดเช่น PERSON.txt ,SERVICE.txtเป็นต้น • นำแฟ้มข้อมูลใส่ในโฟลเดอร์ ที่ตั้งชื่อโฟลเดอร์เป็น F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss • จากนั้นให้ ZIP ข้อมูลทั้งโฟลเดอร์ ตั้งชื่อไฟล์ ZIP เป็นชื่อเดียวกับโฟลเดอร์ F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss.zip

  42. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลการแก้ไขข้อมูลที่ error • ข้อมูลที่ส่งให้ สปสช. ได้รับการประมวลผล (รายงาน Rep) มีสถานะ • ผ่าน • ไม่ผ่าน (error) • ข้อมูลที่ไม่ผ่านสามารถแก้ไขให้ถูกต้อง และส่งใหม่ได้ • ข้อมูลที่ตรวจแล้วผ่าน จะไม่รับการ update ใด ๆ ถ้าส่งอีกจะเป็นข้อมูลซ้ำซ้อน และมีผลต่อ Performance

  43. ช่องทางการส่งข้อมูล สสจ. PCU Data Center สนย. 21 แฟ้ม 21 แฟ้ม โรงพยาบาล Rep Statement 21 แฟ้ม

  44. การตรวจสอบข้อมูลและการคิดคะแนนการตรวจสอบข้อมูลและการคิดคะแนน • การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP)

  45. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) (Add on) (Add on)

  46. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) • ข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดในแต่ละแฟ้ม ตาม Flow การตรวจสอบโครงสร้างแฟ้มที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วยนอก • PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • รหัสคลินิก (CLINIC) ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด โดยจะตรวจสอบจากตำแหน่งที่ 2-3

  47. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) • มีข้อมูลการวินิจฉัย (Diagnosis) ที่ถูกต้องและเชื่อมโยงกับการให้บริการได้ • ต้องมีการให้รหัสโรคหลัก (Principle Diagnosis, Pdx) อย่างน้อย 1 รหัสที่ถูกต้องตาม ICD10 (WHO 2010) หรือ ICD10 TM หรือรหัสแพทย์แผนไทย • ตรวจสอบความสอดคล้องของการให้รหัสโรค (ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 5.0) • ประเภทการวินิจฉัย (Diagnosis Type) มีค่าตั้งแต่ 1 – 5

  48. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) • การให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2557 • มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • การให้บริการผู้ป่วยนอก 1 คนใน 1 วัน จะได้ 1 คะแนน • การคิดคะแนน จะพิจารณาเฉพาะรหัสการวินิจฉัยที่บ่งชี้ว่าเป็นโรค หรืออาการแสดงว่าเจ็บป่วย หรือรหัสที่ระบุว่าเป็นผู้ป่วยนอกเท่านั้น 1.0

  49. การคิดคะแนนการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) เพิ่มเติม (Add on) • หัตถการจากแฟ้ม PROCED หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.01 คะแนน • เป็นรหัสที่อยู่ใน ICD 9 CM และ ICD 10 TM และเป็นรหัสที่กำหนดให้สามารถให้ได้ • เป็นรหัสที่เป็นการให้หัตถการกับผู้มารับบริการจริง • บันทึกรหัสยามาตรฐาน (24 หลัก) จากแฟ้ม DRUG หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.05 คะแนน • มีการส่งต่อ (Refer) จากแฟ้ม SERVICE หากมีการบันทึกข้อมูลการส่งต่อครบถ้วน จะคิดเป็น 0.5 คะแนน 0.1 0.05 0.5

  50. การตรวจสอบข้อมูลบุคคลแฟ้ม PERSON • มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดตาม Flow การตรวจสอบ • ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • ฟิลด์ OCCUPA เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • ฟิลด์ NATION เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • ฟิลด์ RELIGION เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • ฟิลด์ EDUCATE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • ตรวจสอบความซ้ำซ้อนจากฟิลด์ PCUCODE และ CID

More Related