1 / 25

วิชา เศรษฐศาสตร์ผู้บริโภค รหัสวิชา 22011015

วิชา เศรษฐศาสตร์ผู้บริโภค รหัสวิชา 22011015. ดำเนินการสอนโดย อ.ฐิฎติกาญจน์ กุลนาถบัวเพียง ( ปู ) โทร 083-989-3236. poo_pranatnicha@hotmail.com. จุดประสงค์รายวิชา. เพื่อให้เข้าใจถึงหน่วยเศรษฐกิจและระบบเศรษฐกิจ สามารถนำไปวางแผนใช้จ่ายเงิน เลือกซื้อสินค้าและบริการอย่างฉลาด

Mia_John
Download Presentation

วิชา เศรษฐศาสตร์ผู้บริโภค รหัสวิชา 22011015

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา เศรษฐศาสตร์ผู้บริโภครหัสวิชา 22011015

  2. ดำเนินการสอนโดยอ.ฐิฎติกาญจน์ กุลนาถบัวเพียง( ปู )โทร 083-989-3236 poo_pranatnicha@hotmail.com

  3. จุดประสงค์รายวิชา • เพื่อให้เข้าใจถึงหน่วยเศรษฐกิจและระบบเศรษฐกิจ • สามารถนำไปวางแผนใช้จ่ายเงิน เลือกซื้อสินค้าและบริการอย่างฉลาด • นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดในชีวิตประจำวัน

  4. คำอธิบายรายวิชา • ศึกษาถึงความต้องการและจำเป็นทางเศรษญกิจ หน่วยเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ หน้าที่ของผู้บริโภค หลักการเลือกซื้อ การคุ้มครองของผู้บริโภค สินเชื่อสำหรับผู้บริโภค

  5. ประมวลการสอน สัปดาห์ที่ 1 บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับผู้บริโภคฯ สัปดาห์ที่ 2 บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับผู้บริโภคฯ สัปดาห์ที่ 3 บทที่ 2 ระบบเศรษฐกิจ สัปดาห์ที่ 4 บทที่ 2 ระบบเศรษฐกิจ สัปดาห์ที่ 5 สอบบทที่ 1-2 สัปดาห์ที่ 6 บทที่ 3 บริการที่รัฐให้แก่ผู้บริโภค

  6. แผนการสอน (ต่อ) สัปดาห์ที่ 7 บทที่ 3 บริการที่รัฐให้แก่ผู้บริโภค สัปดาห์ที่ 8 สอบบทที่ 3 สัปดาห์ที่ 9 สอบกลางภาค บทที่ 1- 3 สัปดาห์ที่ 10 บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค สัปดาห์ที่ 11 บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค สัปดาห์ที่ 12 สอบบทที่ 4

  7. แผนการสอน สัปดาห์ที่ 13 บทที่ 5 หลักการเลือกซื้อสินค้า สัปดาห์ที่ 14-15 บทที่ 6-7 การเลือกซื้อสินค้า เฉพาะประเภท สัปดาห์ที่ 16 บทที่ สินเชื่อสำหรับผู้บริโภค สัปดาห์ที่ 17 สอบบทที่ 4 - 7 สัปดาห์ที่ 18 สอบปลายภาค บทที่ 4 - 7

  8. คะแนน 100 คะแนน มาเรียน 5 สมุด – หนังสือ 5 ถาม – ตอบ 10 ทดสอบย่อย 20 รายงาน 20 สอบปลายภาค 20 สอบกลางภาค 20 เกณฑ์การประเมินผล

  9. ความหมายของเศรษฐศาสตร์ความหมายของเศรษฐศาสตร์ • มาจากภาษากรีก “Oikos” House + Nemein (to Manage) หมายถึงศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการครอบครัว (Household Management)

  10. นิยามของเศรษฐศาสตร์ • Alfred Marshall“เศรษฐศาสตร์คือ วิชาที่ว่าด้วยการกระทำของมนุษย์ในการดำรงชีวิตธรรมดา ศึกษาว่ามนุษย์หารายได้มาได้อย่างไร และใช้จ่ายไปอย่างไร ดังนั้นจึงเป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่งซึ่งสำคัญกว่า คือเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเรื่องมนุษย์” • Lionel Robbins “เศรษฐศาสตร์คือ ศาสตร์ที่ศึกษาถึงการเลือกหาหนทางที่จะใช้ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามจุดประสงค์ที่มีอยู่มาหมายนับไม่ถ้วน” ฯลฯ

  11. นิยามของเศรษฐศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์เป็นศาสตร์ที่จัดการเกี่ยวกับความสุขทางวัตถุของมนุษย์ • เศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาความมั่นคง(Wealth) • เศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาว่ามนุษย์จะจัดวางรูปกรผลิตและการบริโภคของเขาอย่างไร • เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาว่าด้วยการกระทำของมนุษย์ในการดำรงชีวิตตามปกติ • เศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาถึงสวัสดิการทางเศรษฐกิจ • เศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษามนุษย์ในการประกอบธุรกิจตามปกติ การหาเลี้ยงชีพและการดำรงชีวิต

  12. แนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์แนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์ 1.นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มคลาสสิก (Classical School)และนีโอคลาสสิก (Neo-classics school)เช่น อดัม สมิท (Adam Smith)จอห์น สจวต มิลล์(John stuart Mill)อัลเฟรด มาร์แชล(Alfred Marshall)ให้นิยามไว้ว่า “เศรษฐศาสตร์เป็นศาสตร์ของการผลิตและการแบ่งปันความมั่นคั่ง” มาร์แชลให้นิยามไว้ว่า “เศรษฐศาสตร์เป็นการพิจารณาเกี่ยวกับการกระทำของมนุษย์ในการเสาะแสวงหาความอยู่ดีกินดีในด้านวัตถุ”

  13. แนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์แนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์ 2.นักเศรษฐศาสตร์รุ่นใหม่ (New generation school) ให้นิยามไว้ว่า “เศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการกับทรัพยากรซึ่งมีทางที่จะเลือกใช้”

  14. นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มคลาสสิก & กลุ่มรุ่นใหม่ กลุ่มรุ่นใหม่ กลุ่มคลาสสิก ความมั่งคั่งทางวัตถุ การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสังคม

  15. ความหมายของเศรษฐศาสตร์ความหมายของเศรษฐศาสตร์ • สรุปได้ว่า เศรษฐศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของสังคมศาสตร์ ที่ศึกษาถึงการเลือกหนทางที่จะใช้ปัจจัยการผลิตที่มีอย่างจำกัด (Scarcity)เพื่อบำบัดความต้องการของมนุษย์ ซึ่งมีอยู่อย่างมากมายนับไม่ถ้วน

  16. ความหมายของเศรษฐศาสตร์ความหมายของเศรษฐศาสตร์ สมัยโบราณ ผู้คนมีน้อย ทรัพยากรมีมาก แต่ต่อมา ผู้คนมีมาก แต่ทรัพยากรเริ่มน้อยลง จึงเกิดปัญหาในการใช้ทรัพยากร 1. ความต้องการ (wants)ไม่สิ้นสุด 2. ปัจจัยการผลิตมีจำกัด(scarcity)

  17. ความหมายของเศรษฐศาสตร์ความหมายของเศรษฐศาสตร์ ความต้องการ ของมนุษย์ ที่ไม่จำกัด กระบวนการผลิต ทรัพยากรจำกัด สินค้าและบริการ

  18. คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ 1.ความต้องการ (wants) ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ความปรารถนาที่จะได้มาซึ่งสินค้าและบริการ 1.1 ความต้องการโดยทั่วไปไม่มีที่สิ้นสุด1.2 ความต้องการเฉพาะอย่างย่อมมีที่สิ้นสุด1.3 ความต้องการจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อได้รับสิ่งของมาบำบัดความต้องการมากขึ้น1.4 ความต้องการบางอย่างสามารถใช้ทดแทนกันได้1.5 ความต้องการอาจกลายเป็นนิสัยของผู้บริโภค1.6 ความต้องการบางอย่างมีส่วนเกี่ยวพันกัน

  19. คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ 2.สินค้าและบริการ (Goods & Services) 2.1 สินค้า เช่น เสื้อผ้า หนังสือ เครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น2.2 บริการ เช่น การตรวจของแพทย์ มัคคุเทศก์ ดนตรี การขนส่ง เป็นต้น

  20. คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ 3.ทรัพยากร (Resources) 3.1 ทรัพย์สิน (Property Resource)3.2 มนุษย์ (Human Resource) การจัดสรรทรัพยากร 1.จัดสรรโดยส่วนกลาง 2.จัดสรรโดยผ่านกลไกของราคา (Price mechanism)

  21. ความเป็นมาของเศรษฐศาสตร์ความเป็นมาของเศรษฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ เริ่มเป็นศาสตร์เมื่อ อดัม สมิธ (Adam Smith)เขียนหนังสือเศรษฐศาสตร์เล่มแรก ชื่อ “An Inquiry into Nature and Causes of the Wealth of Nation” แบ่งเป็น 3ระยะ ระยะที่ 1กลุ่มคลาสสิกเดิม นิยามว่า เศรษฐศาสตร์ เป็นศาสตร์ของการผลิต และการแบ่งสรรความมั่งคั่ง ระยะที่ 2กลุ่มคลาสสิกรุ่นใหม่ เสนอวิธีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เป็นเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค(Microeconomic) ระยะที่ 3กลุ่มคลาสสิกรุ่นใหม่ เสนอวิธีการแก้ปัญหาคนว่างงาน ใช้นโยบาย การเงินการคลัง เป็นเนื้อหาวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค(Macroeconomic)

  22. ความเป็นมาของเศรษฐศาสตร์ความเป็นมาของเศรษฐศาสตร์ ในประเทศไทย 1.พ.ศ.2454มีหนังสือเศรษฐศาสตร์เล่มแรก ชื่อ “ทรัพยศาสตร์เบื้องต้น”โดยพระยาสุริยานุวัฒน์ เป็นผู้เรียบเรียง (เศรษฐศาสตร์วิทยาภาคต้น เล่ม1) 2. พ.ศ.2459มีหนังสือ ตลาดเงินตรา 3.พ.ศ. 2480 – 2481มีหนังสือ เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยเศรษฐกิจการค้า และ เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการเงิน 4.พ.ศ. 2504จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการลงทุน สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการการตรวจสอบการปฏิบัติเกี่ยวแก่ ภาษีอากร และรายได้อื่นของรัฐ (สำนักงาน ก.ต.ภ.)

  23. ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่นความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับศาสตร์อื่น • เศรษฐศาสตร์ : บริหารธุรกิจ • เศรษฐศาสตร์ : รัฐศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์ : อื่นๆ เช่น นิติศาสตร์/ประวัติศาสตร์/สังคมวิทยา)

  24. แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) Micro มาจากภาษากรีก แปลว่า เล็กซึ่งเป็นเศรษฐกิจระดับหน่วยย่อย • เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) Macro มาจากภาษากรีก แปลว่า ใหญ่ซึ่งเป็นเศรษฐกิจส่วนรวมระดับประเทศ

  25. ประโยชน์ที่ได้จากวิชาเศรษฐศาสตร์ประโยชน์ที่ได้จากวิชาเศรษฐศาสตร์ • บุคคลทั่วไปให้รู้จักหารายได้ รู้จักใช้จ่ายเงินให้คุ้มค่า รู้วิธีการออมให้เกิดประโยชน์งอกเงย เลือกผลิต และซื้อสินค้าให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า • ผู้ใช้วิชาชีพ สามารถอธิบายปรากฏการณ์ และพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ คาดคะเนเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น และควบคุมให้เศรษฐกิจเป็นไปในทางที่ต้องการ

More Related