100 likes | 478 Views
ปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์เรื่อง การหาค่าอิน ติกรัล เชิง ตัวเลข การหา ค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลข. อ . ดร . ชโล ธร ธรรมแท้ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุร นารี. กฎสี่เหลี่ยมคางหมูหลายช่วง. โปรแกรม Trap.m. กฎของซิมป์สันแบบหลายช่วง. แบบฝึกหัด.
E N D
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เรื่อง การหาค่าอินติกรัลเชิงตัวเลข การหาค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลข อ.ดร.ชโลธร ธรรมแท้ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
กฎสี่เหลี่ยมคางหมูหลายช่วงกฎสี่เหลี่ยมคางหมูหลายช่วง
กฎของซิมป์สันแบบหลายช่วงกฎของซิมป์สันแบบหลายช่วง
แบบฝึกหัด จากสมการที่กำหนดจงหาค่าอินติกรัลของ f(x) จาก 0 ถึง 0.8 1. ใช้ กฎสี่เหลี่ยมคางหมู n=4 ช่วง และ 8 ช่วง 2. ใช้ กฎของซิมป์สัน 1/3 n=4 ช่วง (download simson13.m ได้จาก web สาขา) 3. เปรียบเทียบผลที่ได้ กับค่าจริงคือ 1.640533
MATLAB function: int() • ทดลองพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ >> int(‘x^2’) >> int('sin(x)’) >> int('2*x^3-5*x^2+3*x+1’ , 0,2) • ผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร
MATLAB function: trapz() • การอินติเกรทเชิงตัวเลขด้วย สี่เหลี่ยมคางหมู >> x=linspace(0,2,4) >> f=2*x.^3-5*x.^2+3*x+1 >> trapz(x,f)
ค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลขค่าอนุพันธ์เชิงตัวเลข Forward difference Backward difference Central difference Central difference
โปรแกรม centralDiff.m แบบฝึกหัด: จงหาค่าอนุพันธ์อันดับ 1 และ อันดับ 2 ของฟังก์ชัน ที่ x=2 เปรียบเทียบกันระหว่าง h=0.1 และ h=0.01
MATLAB function: diff() • หากต้องการ diff ฟังก์ชันของตัวแปร x อันดับแรกต้องระบุว่า x เป็นสัญลักษณ์ (symbolic) • จากนั้นจึงใช้คำสั่ง diff() >> syms x >> diff ( sin(2*x) ) >> diff(1.5^x*sin(2*x))