1 / 53

Gastrointestinal Tract System

Gastrointestinal Tract System. Trace Elements (Trace Minerals or Microminerals). รศ . ดร . สมเดช ศรีชัยรัตนกูล ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทรศัพท์ 081-0353463 อีเมล์ ssrichai@med.cmu.ac.th. ขอบเขตและขอบเขตของการบรรยาย

alda
Download Presentation

Gastrointestinal Tract System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Gastrointestinal Tract System Trace Elements (Trace Minerals or Microminerals) รศ.ดร. สมเดช ศรีชัยรัตนกูล ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทรศัพท์ 081-0353463 อีเมล์ ssrichai@med.cmu.ac.th

  2. ขอบเขตและขอบเขตของการบรรยายขอบเขตและขอบเขตของการบรรยาย เนื้อหาเกี่ยวกับแร่ธาตุต่างๆที่มีความสำคัญและจำเป็นต่อมนุษย์ทั้งชนิดที่ต้องการในปริมาณมากและปริมาณเล็กน้อย อธิบายกลไกการได้รับแร่ธาตุเหล็ก แคลเซียม สังกะสี ทองแดง ซีลิเนียม ไอโอดีนเข้าสู่ร่างกาย การดูดซึมผ่านช่องทางเดินอาหาร การขนส่งไปในกระแสเลือด การผ่านเข้าไปในเซลล์และการเมตาโบลิสซึมภายในเซลล์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอาการและความผิดปกติของร่างกายที่เกิดขึ้นจากการได้รับแร่ธาตุต่างๆเหล่านี้น้อยเกินไปหรือมากเกินไป บรรยายปีรามิดอาหารและปริมาณแร่ธาตุอาหารที่จำเป็นต้องรับเข้าไปในร่างกายในแต่ละวัน

  3. แร่ธาตุ (ELEMENTS) รศ. ดร. สมเดช ศรีชัยรัตนกูล ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  4. ความสำคัญของแร่ธาตุ แร่ธาตุคืออะไร? สารเคมีที่ประกอบขึ้นจากเถ้าที่หลงเหลือจากอาหารที่ถูกเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ • พบเป็นส่วนประกอบเพียงประมาณ 4 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักร่างกาย • ทำหน้าที่เป็นตัวกลางสำคัญในการทำงานปกติของเซลล์ กำหนดคุณสมบัติด้านออสโมซิสของร่างกาย มีส่วนช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง • ทำหน้าที่เป็นโคแฟคเตอร์ในการทำงานของเอนไซม์ • จำแนกเป็นมหแร่ธาตุ (macrominerals) และจุลแร่ธาตุ (microminerals)

  5. มหแร่ธาตุ (MACROMINERALS) • อาจเรียกว่าแร่ธาตุหลัก (major minerals), ธาตุอาหารหลัก (major macronutrients) • ร่างกายมีความต้องการอย่างน้อย 0.01 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว • พบอยู่ในร่างกายในปริมาณอย่างน้อย 5 กรัม (คนที่มีน้ำหนักตัว 60 กิโลกรัม) • เกลือแร่หลักพบในร่างกายได้แก่ Ca, P, Mg, Na, K และ Cl • ทำหน้าที่สำคัญหลายๆอย่างในร่างกาย

  6. ตารางที่ 1มหแร่ธาตุ: หน้าที่ ปริมาณในร่างกายและอาการผิดปกติเมื่อขาดสาร เกลือแร่หน้าที่ทางสรีรวิทยาอาการผิดปกติเมื่อขาดสาร Ca - องค์ประกอบโครงร่างกระดูกฟัน - Rickets, Osteomalacia, Osteoporosis - บทบาทในขบวนการต่างๆของเซลล์ Cl- รักษาดุลค่าพีเอช - Apatite loss, weakness, metabolic acidosis Mg - องค์ประกอบของกระดูก - Neuromuscular hyperexcitability - การขนส่งกระแสประสาท - Muscular weakness P - องค์ประกอบโครงร่างกระดูกฟัน - Neuromuscular, skeletal, hematologic and - องค์ประกอบสารฟอสฟอลิปิด cardiac manifestations K - ปรับดุลน้ำ อิเลคโตรไลต์และพีเอช - Muscular weakness, bone fragility - การขนส่งสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ paralysis, cardiac arrhythmias Na - ควบคุมน้ำ อิเลคโตรไลต์และพีเอช - Anorexia, nausea, muscular atrophy S - องค์ประกอบของ Cys, Met, biotin - Unknown

  7. ธาตุแคลเซี่ยม: การย่อย การดูดซึมและการขนส่ง Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  8. ตารางที่ 2 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแคลเซียมกับสารอาหาร สารอาหารที่ยับยั้งการดูดซึมแคลเซียม - Fiber - Phytate - Oxalate - Excessive divalent cations (Zn, Mg) สารอาหารที่เร่งการดูดซึมแคลเซียม - Vitamin D - Sugars and sugar alcohol - Protein สารอาหารที่การดูดซึมอาจถูกยับยั้งเมื่อมีปริมาณแคลเซียมมากเกินไป - Iron - Fatty acids สารอาหารที่เร่งการขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะ - Sodium - Caffeine - Protein

  9. จุลแร่ธาตุ (MICROMINERALS) • เรียกว่า trace minerals หรือ trace elements หรือ essential elements • เกลือแร่ที่ประกอบอยู่น้อยกว่า 0.01 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวทั้งหมด (น้อยกว่า 1 มิลลิกรัม – 4 กรัม • ร่างกายต้องการในปริมาณ 1 ส่วนใน 1,000,000 ส่วน (1 ppm.) หรือน้อยกว่า 100 มิลลิกรัมต่อวัน หรือปริมาณน้อยกว่านี้ • หากร่างกายได้รับในปริมาณไม่เพียงพออาจทำให้การทำงานทางชีวภาพต่ำกว่าปกติ • การได้รับเกลือแร่ในปริมาณปกติหรือเสริมเข้าไปสามารถทำให้ความผิดปกติหายไปได้ • ปริมาณรับเข้าไปหรือความเข้มข้นในร่างกายที่น้อยเกินไปหรือมากเกินไปมีผลทำให้การทำหน้าที่ของร่างกายบกพร่องและเสียชีวิตได้

  10. ตารางที่ 3จุลแร่ธาตุ: ปริมาณในร่างกายและควรได้รับเข้าไปหน้าที่ทางสรีรวิทยา

  11. ตารางที่ 3จุลแร่ธาตุ: ปริมาณในร่างกายและควรได้รับเข้าไปหน้าที่ทางสรีรวิทยา

  12. ตารางที่ 3 (ต่อ)จุลแร่ธาตุ: แหล่งอาหารที่พบและอาการที่เกิดขึ้นจากการขาด

  13. ตารางที่ 3 (ต่อ)จุลแร่ธาตุ: แหล่งอาหารที่พบและอาการที่เกิดขึ้นจากการขาด

  14. ธาตุเหล็ก: การย่อย การดูดซึมและการขนส่ง Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  15. หน้าที่ทางชีวภาพที่สำคัญของธาตุเหล็กหน้าที่ทางชีวภาพที่สำคัญของธาตุเหล็ก 1. ส่วนประกอบของฮีโมโกลบินและไมโอโกลบิน 2. องค์ประกอบของไซโตโครมต่างๆ 3. องค์ประกอบของเอนไซม์ - Ribonucleotide reductase - Phenylalanine monoxygenase - Tyrosine monooxygenase - Tryptophane monooxygenase - Peroxidase - Other oxidoreductases 4. องค์ประกอบของโปรตีนกำมะถัน 5. เป็นตัวออกซิแด๊นท์

  16. การเปลี่ยนแปลงสถานะของธาตุเหล็กในร่างกายมนุษย์การเปลี่ยนแปลงสถานะของธาตุเหล็กในร่างกายมนุษย์ Britton, 2000

  17. ระบบควบคุมดุลธาตุเหล็กในร่างกายมนุษย์ระบบควบคุมดุลธาตุเหล็กในร่างกายมนุษย์ Hentze et al, 2004

  18. ลำดับขั้นการเปลี่ยนแปลงสถานะของธาตุเหล็กเกิดร่วมกับการลดลงของธาตุเหล็กลำดับขั้นการเปลี่ยนแปลงสถานะของธาตุเหล็กเกิดร่วมกับการลดลงของธาตุเหล็ก

  19. การกระจายตัวของธาตุเหล็ก (มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม)

  20. กลไกควบคุมการเมตาโบลิสม์ของธาตุเหล็กในระดับเซลล์กลไกควบคุมการเมตาโบลิสม์ของธาตุเหล็กในระดับเซลล์ ปริมาณเหล็กในเซลล์ของร่างกายมีผลต่อการแสดงออกของยีนส์ที่ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนเฟอริตินภายในเซลล์และทรานส์เฟอรินรีเซพเตอร์บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์โดยผ่านการทำงานของ iron-regulatory protein (IRP) และ iron-responsive element (IRE) บนสาย mRNA ของเฟอริตินและทรานส์เฟอรินรีเซพเตอร์ • ภาวะร่างกายมีปริมาณเหล็กต่ำกว่าปกติจะเหนี่ยวนำให้สร้างทรานส์เฟอรินรีเซพเตอร์เพื่อช่วยนำเหล็กที่เกาะกับทรานส์เฟอรินเข้าไปในเซลล์เพิ่มมากขึ้น และยับยั้งการสร้างเฟอริตินที่ใช้เก็บสะสมเหล็ก • ภาวะร่างกายมีปริมาณเหล็กเกินปกติจะเหนี่ยวนำให้สร้างทรานส์เฟอรินรีเซพเตอร์ในการนำเหล็กที่เกาะกับทรานส์เฟอรินเข้าไปในเซลล์น้อยลง และกระตุ้นการสร้างเฟอริตินเพื่อเก็บสะสมเหล็กในเซลล์เพิ่มมากขึ้น Fro

  21. การควบคุมการดูดซึมและขนส่งธาตุเหล็กบริเวณลำไส้เล็กการควบคุมการดูดซึมและขนส่งธาตุเหล็กบริเวณลำไส้เล็ก ธาตุเหล็กในอาหารถูกกรดเกลือในกระเพาะอาหาร (ค่าพีเอช 1-2) ช่วยให้อยู่ในรูปละลายน้ำได้แล้วลำเลียงต่อไปยังลำไส้เล็กส่วนดูโอดีนัม ต่อจากนั้นเหล็กรูปฮีมที่ได้จากฮีโมโปรตีนจะถูกดูดซึมโดยตรง (simple diffusion) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์อิพิธีเลียมของลำไส้เล็กแล้วถูกเอนไซม์ heme oxygenase (HO) เร่งสลายได้เหล็กรูปเฟอรัส (Fe2+) เหล็กรูปเฟอริค (Fe2+) ถูกเอนไซม์ ferrireductase บริเวณเซลล์อิพิธีเลียมของลำไส้เล็กเปลี่ยนไปเป็นเหล็กรูปเฟอรัส รวมกับเหล็กรูปเฟอรัสจากอาหารจะถูกดูดซึมผ่านช่องโปรตีน divalent metal (DMT) บริเวณด้าน apical part (facilitate diffusion) เข้าไปในเซลล์ลำไส้เล็ก ส่วนหนึ่งถูกนำไปใช้ประโยชน์หรือเก็บสะสมในเซลล์ ส่วนใหญ่จะถูกขนส่งต่อไปยังส่วน basolateral part แล้วถูกออกซิไดซ์โดยโปรตีน hephaestin โดยผ่านการควบคุมของโปรตีน ferroportin ได้เป็นเหล็กรูปเฟอริคแล้วจับกับโปรตีน transferrin ในพลาสมาเพื่อลำเลียงไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย

  22. ปัจจัยที่ส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็กปัจจัยที่ส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็ก • กรด เช่นกรดแอสคอบิก กรดซิตริค กรดแลคติคและกรดทาทาริค • น้ำตาลต่างๆ • เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ที่ย่อยแล้ว • มิวซิน ปัจจัยที่มีผลยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็ก • สารโพลีฟีนอล เช่นสารอนุพันธ์แทนนินและกรดแกลลิก ในชาและกาแฟ • กรดออกซาลิก ในใบสปิแนช ผลเบอร์รี่ ช็อคโกแลต ชา • สารไฟเทต อิโนซิทอล สารโพลีฟอสเฟต (ในข้าวโพด เมล็ดธัญพืชและถั่ว) • สารจับไอออนโลหะ เช่น EDTA • โปรตีน phosvitin • อาหารเช่นแคลเซียม เกลือแคลเซียมฟอสเฟต สังกะสี แมงกะนีส และนิเกิล

  23. การทำงานร่วมกันระหว่างลำไส้เล็ก ตับและม้ามในการลำเลียงธาตุเหล็ก เหล็กส่วนหนึ่งที่ถูกดูดซึมจากอาหารและอีกส่วนหนึ่งที่ได้จากการสลายฮีมในฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงที่ถูกทำลายจะจับกับ transferrin แล้วขนส่งไปยังเซลล์ที่ต้องการธาตุเหล็กไปใช้ประโยชน์เช่นเซลล์ไขกระดูก ตับ กล้ามเนื้อและเซลล์อื่นๆ From Fleming et al, NEJM, 2005

  24. การแลกเปลี่ยนธาตุเหล็กระหว่างอวัยวะต่างๆในร่างกายการแลกเปลี่ยนธาตุเหล็กระหว่างอวัยวะต่างๆในร่างกาย Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  25. การขับธาตุเหล็กออกจากร่างกายการขับธาตุเหล็กออกจากร่างกาย • ร่างกายไม่มีกลไกใดขับเหล็กออกจากร่างกาย • ร่างกายสูญเสียธาตุเหล็กออกไป 0.9 – 1.0 mg/day หรือ 12 – 14 mg/kg/day • การสูญเสียเหล็กเกิดขึ้นโดยทางระบบทางเดินอาหาร ผิวหนังและไต ภาวะความไม่สมดุลของธาตุเหล็กในร่างกาย • โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron refractory deficiency anemia (IRDA) • ออกซิเดทีฟสเตรส (Oxidative stress)

  26. หน้าที่ทางชีวภาพของธาตุสังกะสีหน้าที่ทางชีวภาพของธาตุสังกะสี 1. METALLOENZYME COMPONENTS: - Alcohol dehydrogenase - Carboxypeptidase - Aminopeptidase - d-Aminolevulinic acid (ALA) - Superoxide dismutase (SOD) - Phospholipase C - Polymerases, kinases, nucleases, transferase, phosphorylases 2. GENE EXPRESSION 3. CELL REPLICATION 4. MEMBRANE AND CYTOSKELETAL STABILIZATION 5. STRUCTURAL ROLES IN HORMONES

  27. ธาตุสังกะสี: การย่อย การดูดซึมและการขนส่ง Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  28. ธาตุสังกะสี: การนำผ่านเข้าเซลล์ การเก็บและการนำไปใช้ประโยชน์ Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  29. ปัจจัยส่งเสริมการดูดซึมสังกะสีปัจจัยส่งเสริมการดูดซึมสังกะสี • กรดในกระเพาะอาหาร กรดซิตริค กรดพิโคลินิค พรอสตาแกลนดิน • กรดอะมิโน His, Cys, Lys, Gly • กลูตาไธโอน • ปริมาณธาตุสังกะสีในร่างกายต่ำกว่าปกติ ปัจจัยมีผลยับยั้งการดูดซึมสังกะสี • กรดไฟติค กรดออกซาลิค • สารโพลีฟีนอล • กากไยอาหาร • อาหารวิตามินและไอออนโลหะประจุบวกสอง • ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร • - H2 receptor blocker: Zantac, Tagamet, Pepcid • - Proton pump blocker : Prevacid, Prilosec

  30. ภาวะความไม่สมดุลของธาตุสังกะสีในร่างกายภาวะความไม่สมดุลของธาตุสังกะสีในร่างกาย 1. ภาวะขาดธาตุสังกะสี - การสลายตัวของ metalloenzymes (bone alkaline phosphatase, pancreatic carboxypeptidase A และ connective deoxythymidine kinase - รับสังกะสีเข้าร่างกายน้อยกว่าปกติในคนสูงอายุและคนกินอาหารมังสะวิรัติ 2. พิษจากธาตุสังกะสีมากเกิน - คลื่นไส้ อาเจียน ปวดกระเพาะอาหารส่วนบน ปวดเกร็งบริเวณท้อง ถ่ายเป็นเลือด

  31. หน้าที่ทางชีวภาพของธาตุทองแดงหน้าที่ทางชีวภาพของธาตุทองแดง 1. จับกับเซอรูโลพลาสมินแล้วเร่งการเปลี่ยน Fe2+เป็น Fe3+ 2. องค์ประกอบของเอนไซม์หลายตัว เช่น Superoxide dismutase (SOD) Cytochrome c oxidase Amine oxidase Dopamine monooxygenase p-Hydorxyphenylpyruvate hydroxylase 3. อาจเกี่ยวข้องกับขบวนการอื่นๆ เช่น การสร้างเส้นเลือดใหม่ การทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน การสร้างเยื่อไมอีลินหุ้มเส้นประสาท การสร้างสารเอนโดรฟิน

  32. ธาตุทองแดง: การย่อย การดูดซึมและการเมตาโบลิสม์บริเวณลำไส้ From Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  33. ธาตุทองแดง: การขนส่ง การนำเข้าสู่เซลล์และการเมตาโบลิสม์ From Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  34. ธาตุทองแดง: การนำเข้าเซลล์และการเมตาโบลิสม์ที่เซลล์ตับ From Arredondoand Nunez, Mol Aspect Med, 2005

  35. ปัจจัยส่งเสริมการดูดซึมทองแดงปัจจัยส่งเสริมการดูดซึมทองแดง • กรดซิตริค กรดกลูโคนิค กรดแลคติค กรดอะเซติค กรดมาลิค • กรดอะมิโน His, Cys, Met • กลูตาไธโอน • ปริมาณธาตุทองแดงในร่างกายต่ำกว่าปกติ ปัจจัยมีผลยับยั้งการดูดซึมทองแดง • กรดไฟติค อิโนซิทอลโพลีฟอสเฟต • สังกะสีในอาหารปริมาณมากกว่า 40 มิลลิกรัม • กรดแอสคอบิค • อาหารที่มีปริมาณเหล็กสูง • อาหารที่มีแคลเซียมและฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ • ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร

  36. ปริมาณธาตุทองแดงในอาหารต่างๆปริมาณธาตุทองแดงในอาหารต่างๆ

  37. ภาวะความไม่สมดุลของธาตุทองแดงในร่างกายภาวะความไม่สมดุลของธาตุทองแดงในร่างกาย 1. ภาวะขาดธาตุทองแดง - โลหิตจาง จำนวนเม็ดเลือดขาวต่ำกว่าปกติ - ผิวหนังซีด - การทำงานของเซลล์ระบบภูมิคุ้มกันลดลง - การทำงานของกระดูกผิดปกติ - การทำงานของระบบหลอดเลือดและปอดผิดปกติ 2. พิษจากธาตุทองแดงมากเกิน - ปัสสาวะมีเลือดปนหรือปัสสาวะไม่ออก - คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย - Wilson’s disease การทำงานของตับ ไต สมองถูกรบกวน

  38. หน้าที่ทางชีวภาพของธาตุซีลิเนียมหน้าที่ทางชีวภาพของธาตุซีลิเนียม 1. องค์ประกอบของเอนไซม์หลายตัวเช่น Glutathione peroxidase (GPx) Iodothyronine deiodinase Thioredoxin reductase (TrxR) Selenophosphate synthase 2. สร้างเป็นซีลิโนโปรตีนพี (Selenoprotein P) 3. สร้างเป็นซีลิโนโปรตีนดับเบิลยู (Selenoprotein W) ซีลิเนียมเป็นธาตุอโลหะรูป Se2-, Se4+ และ Se6+ มีคุณสมบัติทางเคมีคล้ายกับกำมะถัน พบได้ตามธรรมชาติในอาหารในรูปสารประกอบอินทรีย์ (ได้แก่ selenomethionine, selenocysteine และ selenocytine) และอนินทรีย์ (ได้แก่ selenite และ selenate)

  39. ธาตุซีลิเนียม: การย่อย การดูดซึมและการขนส่ง ซีลิเนียมถูกดูดซึมผ่านช่องทางเดินอาหาร (ดูโอดีนัม เจจูนัมและไอเลียม ยกเว้นกระเพาะอาหาร) ได้อย่างมีประสิทธิภาพในรูปที่เกาะติดกับกรดอะมิโน Cys และ Met ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมซีลิเนียมได้แก่วิตามินซี เอและอี และกลูตาไธโอน ส่วนโลหะหนักเช่นปรอท และสารไฟเตทยับยั้งการดูดซึม Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005 ซีลิเนียมที่ถูกดูดซึมแล้วจะจับกับโปรตีนขนส่งชนิดแอลฟา- และบีตา-โกลบูลิน (เช่นไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำมากและความหนาแน่นต่ำ) และซีลิโนโปรตีนพีในเลือดที่บริเวณหมู่ซัลไฮดริลเพื่อลำเลียงต่อไปยังตับและเนื้อเยื่ออื่นๆ ซีลิเนียมถูกนำผ่านเข้าไปในเซลล์ต่างๆโดยการแพร่ (simple diffusion) เซลล์ของไต ตับ หัวใจ ตับอ่อน กล้ามเนื้อ ปอด สมอง กระดูกและเม็ดเลือดแดงมีความเข้มข้นของซีลีเนียมสูง)

  40. ซีลิเนียมถูกสลายในเซลล์โดยเอนไซม์ selenocysteine b-lyase ได้เป็นซีลิเนียมอิสระ แล้วถูกเปลี่ยนต่อไปเป็นซีลิไนด์และถูกเติมหมู่เมทธิลเข้าไปก่อนถูกขับออกจากร่างกายโดยทางปัสสาวะ ซีลิเนียมมีบทบาทในการดำรงรักษาหรือเหนี่ยวนำระบบไซโตโครมพี 450 การทำงานของตับอ่อน การกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ซ่อมแซมดีเอ็นเอ การทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน และการกำจัดสารพิษ ธาตุซีลิเนียม: การเมตาโบลิสม์ Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  41. ภาวะความบกพร่องซีลิเนียมภาวะความบกพร่องซีลิเนียม • การเกิดโรคหัวใจที่เรียกว่า Keshan disease ในคนจีนที่เกิด (ได้แก่ cardiogenic shock และ congestive heart failure) และโรคกระดูกที่เรียกว่า Kashin-Beck’s disease (ได้แก่ degeneration และ necrosis ที่บริเวณข้อต่างๆและกระดูกอ่อนบริเวณแขนและขา)ในประเทศจีน • ภาวะบกพร่องซีลิเนียมพบได้ในคนที่ได้รับอาหารทางสายยางหรือหลอดเลือด ทำให้มีการเจริญเติบโตช้าลง ปวดและอ่อนเพลียกล้ามเนื้อ เส้นผมและผิวหนังซีด โคนเล็บมีสีขาว ความเป็นพิษของซีลิเนียม • เรียกว่าภาวะ selenosis พบได้ในคนที่ทำงานในเหมืองถ่านหินและคนที่รับประทานซีลิเนียมจำนวนมากเสริมเข้าไป • ลักษณะอาการคือ คลื่นไส้ อาเจียน เมื่อยล้า ท้องเสีย เส้นผมและเล็บเปราะ อวัยวะหลายแห่งถูกทำลายได้

  42. ธาตุโครเมียม: บทบาทควบคุมการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  43. ธาตุไอโอดีน: การย่อยและดูดซึมที่บริเวณลำไส้เล็ก Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  44. ธาตุไอโอดีน: การเมตาโบลิสม์ บทบาทสร้างและขนส่งฮอร์โมนต่อมไธรอยด์ From Advanced Nutrition and Human Metabolism, 2005

  45. ผลที่เกิดจาก TRACE ELEMENTS มีปริมาณต่ำปกติ

  46. Keshan disease is characterized by cardiomyopathy involving cardiogenic shock and/or congestive heart failure along with multifocal necrosis of heart tissue. Kashin-Beck’s disease is characterized by osteoarthropathy involving degeneration and necrosis of the joints and of epiphyseal-plate cartilages of the legs and arms.

  47. พิษที่เกิดจาก TRACE ELEMENTS มากเกินปกติ

  48. ปีรามิดอาหาร www.MyPyramid.gov

More Related