1 / 25

ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community )

ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community ). บทบาทของภาครัฐต่อ การคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประขาคมอาเซียน. วัตถุประสงค์ของอาเซียน. ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน

alessa
Download Presentation

ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

  2. บทบาทของภาครัฐต่อ การคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประขาคมอาเซียน

  3. วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน • ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก • ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง • เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน • พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม • ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ ที่มา: กรมอาเซียน

  4. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • ผู้นำอาเซียนได้ลงนามเมื่อ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้เมื่อ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ • มีเป้าหมาย ๓ ประการ คือ • มีฎกติกาในการทำงาน (Rules - based) • มีประสิทธิภาพ • มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ที่มา: กรมอาเซียน

  5. ภารกิจ ๓ เสาหลัก • ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง (ASEAN – Political Security Community : APSC) กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เจ้าภาพหลัก • ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN – Economic Community : AEC)กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เจ้าภาพหลัก • ประชาคมสังคมและวัฒธรรม (ASEAN – Socio Cultural Community : ASCC)กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ (พม.) เป็นเจ้าภาพหลัก

  6. แผนงานการจัดตั้ง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วยความร่วมมือในด้านต่างๆ 6 ด้าน

  7. 1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HumanDevelopment) ให้ความสำคัญกับการศึกษาการลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม

  8. 2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) การขจัดความยากจน เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์

  9. 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับ สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ

  10. 4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน โดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมือง

  11. 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity) • ส่งเสริมความตระหนักของการเป็นประชาคมอาเซียน • การส่งเสริมอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับชุมชน

  12. 6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) อาเซียนได้ดำเนินการทั้งในรูปแบบของความตกลงในระดับต่างๆ (MOU/ Agreement/ Declaration) โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศภายนอกภูมิภาค

  13. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) โดย สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) กับบทบาท การคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  14. คำนิยาม : ผู้ด้อยโอกาส “ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนและได้รับผลกระทบในด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณสุข การเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม ภัยธรรมชาติและภัยสงคราม รวมถึงผู้ที่ขาดโอกาสที่จะเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ ตลอดจนผู้ประสบปัญหาที่ยังไม่มีองค์กรหลักรับผิดชอบ อันจะส่งผลให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เท่าเทียมกับผู้อื่น”

  15. คำนิยาม : ผู้ด้อยโอกาส(ต่อ) กำหนดไว้ ๕ กลุ่ม ประกอบด้วย ๑. คนยากจน ๒. คนเร่ร่อน/ไร้ที่อยู่อาศัย ๓. ผู้พ้นโทษ ๔. ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี/ผู้ป่วยเอดส์/ครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบจากเอดส์ ๕. ผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร

  16. เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเกิดผลกระทบต่อผู้ด้อยโอกาสอย่างไร ? • ด้านเศรษฐกิจ ๑. มีแรงงานเพิ่มมากขึ้น เกิดการแย่งงานกันทำโดยเฉพาะภาคบริการ ๒. ที่ดินราคาสูงขึ้น เพราะเป็นปัจจัยทุนในภาคเกษตร การสร้างที่อยู่อาศัย สร้างโรงงานอุตสาหกรรมที่มา : งานวิจัยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสจากประชาคมอาเซียน

  17. เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเกิดผลกระทบต่อผู้ด้อยโอกาสอย่างไร ? (ต่อ) • ด้านความมั่นคง ๑. การละเมิดสิทธิเด็ก ๒. การค้ามนุษย์ ๓. การก่ออาชญากรรม ที่มา : งานวิจัยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสจากประชาคมอาเซียน

  18. เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเกิดผลกระทบต่อผู้ด้อยโอกาสอย่างไร ? (ต่อ) • ด้านสังคม-วัฒนธรรม ๑. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ๒. การรักษาเอกลักษณ์ประจำชาติ ๓. การกลืนชาติ ที่มา : งานวิจัยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสจากประชาคมอาเซียน

  19. ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส • สิทธิบริการขั้นพื้นฐาน ๑. ส่งเสริมให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ ๒. ให้ความคุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาสตามที่กฎหมายบัญญัติ ๓. พิทักษ์และปกป้องผู้ด้อยโอกาสตามหลักสิทธิมนุษยชน

  20. ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (ต่อ) • ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการแก้ปัญหาด้าน ๑. การค้ามนุษย์ ๒. คนไร้สัญชาติ ๓. ยาเสพติด ๔. อาชญากรรม

  21. ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (ต่อ) • ส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ๑. การแก้ไขปัญหาแรงงาน ๒. การแก้ไขความยากจน ๓. การแก้ไขปัญหาเอดส์ ๔. การแก้ไขปัญหายาเสพติด

  22. ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (ต่อ) • พัฒนาระบบสวัสดิการสังคมร่วมกับ อปท. เช่น ๑. กองทุนสวัสดิการชุมชนตั้งแต่เกิดจนตาย ๒. โครงการออมวันละบาท ๓. กองทุนสัจจะออมทรัพย์ ๔. กลุ่มออมทรัพย์ประจำชุมชน

  23. สรุป การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • การให้ความคุ้มครองตามหลักสิทธิมนุษยชน • การให้หลักประกันขั้นพื้นฐานแก่ทุกคนในสังคม • การรับรองและคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญไทย • การไม่เลือกปฏิบัติต่อทุกคนที่อาศัยในรัฐไทย

  24. ถาม - ตอบ

  25. สวัสดีค่ะ

More Related