1 / 28

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 25 พฤษภาคม 2547

รายงานสรุป กลุ่ม ระบบเก็บและจ่ายพลังงานอเนกประสงค์. เสนอโดย ปัญญาสาร ปริศวงศ์. สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 25 พฤษภาคม 2547. รายชื่อคณะผู้ทรงคุณวุฒิ. 2. เนื้อหา. ที่มา ความต้องการและความสามารถด้านเทคนิค กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคโนโลยี บทสรุปและข้อเสนอ. 3.

amir-glenn
Download Presentation

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 25 พฤษภาคม 2547

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานสรุปกลุ่ม ระบบเก็บและจ่ายพลังงานอเนกประสงค์ เสนอโดย ปัญญาสาร ปริศวงศ์ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 25 พฤษภาคม 2547

  2. รายชื่อคณะผู้ทรงคุณวุฒิรายชื่อคณะผู้ทรงคุณวุฒิ 2

  3. เนื้อหา • ที่มา • ความต้องการและความสามารถด้านเทคนิค • กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคโนโลยี • บทสรุปและข้อเสนอ 3

  4. 1. ที่มา 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 1.3 สถานภาพในปัจจุบัน 1.4 แนวโน้มทิศทางตลาด 4

  5. 1. ที่มา 1.1 วิสัยทัศน์ “การสร้างอุตสาหกรรมระบบเก็บและจ่ายพลังงานอเนกประสงค์ให้อยู่ในระดับโลก (Building World Class Manufacturing Universal Energy Storage and Generating Systems)” 5

  6. 1. ที่มา 1.2 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย วัตถุประสงค์ สร้างอุตสาหกรรมระบบเก็บและจ่ายพลังงานที่มี สมรรถนะการทำงานหลากหลายและสอดคล้องกับมาตรฐานสากลเพื่อให้สามารถขายได้ทั่วโลก 6

  7. 1. ที่มา เป้าหมาย • สร้างอุตสาหกรรมระบบเก็บและจ่ายพลังงาน • อเนกประสงค์ในประเทศไทยที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน • และเป็น 1 ใน 4 ในทวีปเอเชีย ภายใน 5 ปี • (2) เป็นศูนย์เทคโนโลยีและการวิจัยทางด้านระบบเก็บ • และจ่ายพลังงานอเนกประสงค์อันดับ 1 ในอาเซียน • และอยู่ในอันดับ 5 ในเอเชีย ภายใน 7 ปี 7

  8. 1. ที่มา 1.3 สถานภาพในปัจจุบันและแนวโน้มทิศทางตลาด Solar Cell อัตราการเติบโตของ การติดตั้งใช้พลังงาน จากแสงอาทิตย์ของโลก เพิ่มขึ้น 25% ในแต่ละปี ที่มา : Source: www.solarbuzz.com/statsgrowth.htm Source:www.earth-pol.icy.org/updates/update12_data.htm 8

  9. 1. ที่มา 1.3 สถานภาพในปัจจุบันและแนวโน้มทิศทางตลาด Fuel Cell การประมาณ ความเติบโต ตลาด Fuel cell ที่จะติดตั้งใช้งาน บริเวณต่างๆ ของโลก ถึง ค.ศ. 2020 9 ที่มา: Imperial College Centre for Energy Policy and Technology

  10. 1. ที่มา 1.3 สถานภาพในปัจจุบันและแนวโน้มทิศทางตลาด UPS การประมาณส่วนตลาดของ UPS โลกในปี ค.ศ. 2006 Asia/Pacific มีส่วนตลาดอยู่ประมาณ 22.3% ที่มา: Battery Powered Uninterruptible Power Supplies North America, Europe, Asia-Pacific, Latin America (Matthew Goodwin, Senior Analyst Nathan Andrews, Practice Director Power Conversion Control; Venture Development Corporation:August 2002) 10

  11. 2. ความต้องการและความสามารถด้านเทคนิค Very High High Economic Impact Middle High Low Middle Very Low Low Potential for Success Very High Very Low Low Middle High Strategic Importance 2.1 ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย เลือกผลิตภัณฑ์เป้าหมาย คือ “ระบบเก็บและจ่ายพลังงานชนิด Stationary ICT” เหตุผลที่เลือก ผลกระทบในด้านเศรษฐศาสตร์สูง มีความสำคัญเชิงกลยุทธ์สูงมาก และโอกาสประสบความสำเร็จสูงกว่า ชนิด Portable IT ระบบเก็บและจ่ายพลังงานอเนกประสงค์สำหรับ อุปกรณ์ IT ชนิดพกพา (Portable IT) ระบบเก็บและจ่ายพลังงานอเนกประสงค์สำหรับ อุปกรณ์ ICT ชนิดอยู่กับที่ (Stationary ICT) 11

  12. 2. ความต้องการและความสามารถด้านเทคนิค 2.2 จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ 12

  13. 2. ความต้องการและความสามารถด้านเทคนิค 2.3 ขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของไทย 1. ปัจจุบันไทยมีอุตสาหกรรม UPS อยู่แล้ว 2. แบตเตอรี่ Li-ion ไทยมีนักวิทยาศาสตร์ด้านนี้อยู่น้อยกว่า 5 คน 3. เซลล์เชื้อเพลิงไทยมีนักวิจัยด้านนี้ประมาณ 100 คน โดยไทยมีศักยภาพทางด้าน System design, Stack design , และการทำ Portfolio of material selections 13

  14. 2. ความต้องการและความสามารถด้านเทคนิค 2.4 การวิเคราะห์ด้านการแข่งขัน เป็นการวิเคราะห์ค้านต่างๆ เช่น SWOT Analysis โดยคู่แข่งที่สำคัญ เช่น ในกลุ่มของ Fuel Cell ประกอบด้วย Ceramic Fuelcell Limited ของ ออสเตรเลีย และ Toyota, Hitachi, Tokyo Gas, MHI ของญี่ปุ่น 14

  15. 2. ความต้องการและความสามารถด้านเทคนิค 2.5 กลยุทธ์ของผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ของผลิตภัณฑ์ทางด้านส่วนประกอบสำหรับระบบเก็บและจ่ายพลังงาน อเนกประสงค์สำหรับอุปกรณ์ ICT ชนิดที่ไม่สามารถพกพา 15

  16. 3. กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคโนโลยี 3.1 Technology Cluster 3.2 จัดลำดับความสำคัญด้านเทคโนโลยี 3.3 เส้นทางเทคโนโลยี(TRM) 3.4 เทคโนโลยีที่น่าสนใจ 16

  17. 3. กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคโนโลยี 3.1 Technology Cluster Technology Cluster คือ กลุ่มของเทคโนโลยีที่สัมพันธ์กับลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์ เช่น Fuel Cell ในตาราง 17

  18. 3. กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคโนโลยี 3.2 จัดลำดับความสำคัญด้านเทคโนโลยี การจัดลำดับความสำคัญเทคโนโลยีโดยคำนึงถึงความจำเป็น ในการเป็นเจ้าของเทคโนโลยีนั้นๆ ตามความเร่งด่วน และความสามารถ ของนักวิจัย 1. Non-toxic materials selection 6. Recycling Technology 2. System Design 7. Fabrication Technology 3. High Mechanical Strength Materials 4. Packaging Technology 8. Fuel Purification 5. High Performance Materials จากข้อมูลใน TRM (1= มีความสำคัญและมีความเร่งด่วนสูงสุด) 18

  19. 3. กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคโนโลยี 3.3 เส้นทางเทคโนโลยี(TRM) 19

  20. 3. กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคโนโลยี 3.4 เทคโนโลยีที่น่าสนใจ เทคโนโลยีที่มีความสำคัญสูงและประเทศไทยยังไม่มีการทำวิจัยจึงต้องอาศัยความร่วมมือกับต่างชาติ หรือ ซื้อเทคโนโลยี ได้แก่ • เทคโนโลยีในการทำเชื้อเพลิงสำหรับ Fuel Cell ให้บริสุทธิ์ • (Fuel Purification) • เทคโนโลยีในการใช้วัสดุที่มีสมรรถนะสูง • (High Performance Materials) • เทคโนโลยีในการขึ้นรูป (Fabrication Technology) 20

  21. 4. บทสรุปและข้อเสนอ 4.1 บทสรุป 4.2 ข้อเสนอแนะ 4.3 แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ 21

  22. 4. บทสรุปและข้อเสนอ 4.1 บทสรุป • TRM ในกลุ่มนี้ชี้นำกลุ่มของเทคโนโลยีที่จำเป็นในการสร้าง • อุตสาหกรรมระบบเก็บและจ่ายพลังงานในช่วง ค.ศ. 2004 – ค.ศ. 2014 • กลุ่มเทคโนโลยี ใน TRM คลอบคลุม 3 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ได้แก่ Fuel Cell, • Solar Cell และ Li-ion Battery Backup • TRM แสดงถึงเทคโนโลยีที่ประเทศไทยมีอยู่และที่ยังไม่มี รวมถึงแหล่ง • ที่จะหามาได้ • การสร้างอุตสาหกรรมกลุ่มนี้ต้องร่วมมือกันทั้ง รัฐบาล, เอกชน และ • ภาคการศึกษา 22

  23. 4. บทสรุปและข้อเสนอ 4.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ การพัฒนาเทคโนโลยี • ร่วมมือกับบริษัทคนไทยที่ทำธุรกิจระบบเครือข่าย • โทรศัพท์มือถือ, ระบบเครือข่าย และ UPS • ร่วมมือกันระหว่างภาครัฐบาลกับสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัย เพิ่มจำนวนนักวิจัย • ร่วมมือกันสนับสนุนนักวิจัยในประเทศทั้งภาครัฐและเอกชน • นำเข้านักวิจัยชั้นนำจากต่างประเทศ 23

  24. 4. บทสรุปและข้อเสนอ 4.3 แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ 24

  25. 4. บทสรุปและข้อเสนอ 4.3 แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ 25

  26. 4. บทสรุปและข้อเสนอ 4.3 แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ 26

  27. 4. บทสรุปและข้อเสนอ 4.3. ข้อเสนอนำแผนปฏิบัติสู่โครงการนำร่อง รัฐบาล เอกชน และ ภาคการศึกษาต้องให้ความร่วมมือกันอย่างจริงจังในการที่จะผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีทางด้าน Fuel Cell 27

  28. (ให้เสนอโครงการระยะสั้น ที่เป็นไปได้เพื่อนำมาพิจารณาส่งเสริมเป็นโครงการนำร่อง โดยกำหนดจากภาพของ TRM และแบ่งหมวดเงินที่ต้องการสนับสนุน ตามข้อ 4.3.1- 4.3.4) แผนปฏิบัติการ: เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยี 28

More Related