1 / 62

กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น

กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น. ต.ค.45 - ส.ค.46. การใช้งบประมาณ. ได้รับจัดสรร 12,451,913.61 บาท เบิกจ่าย 12,055,684.60 บาท คิดเป็น 97 % ( ข้อมูล ณ วันที่ 31 ส.ค. 46 ). กิจกรรม. 1.การนิเทศงาน คบส.ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น

Download Presentation

กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคกองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ต.ค.45 - ส.ค.46

  2. การใช้งบประมาณ ได้รับจัดสรร 12,451,913.61 บาท เบิกจ่าย12,055,684.60 บาท คิดเป็น 97% ( ข้อมูล ณ วันที่ 31 ส.ค. 46 )

  3. กิจกรรม 1.การนิเทศงาน คบส.ในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น 2.การพัฒนาระบบงาน คบส. (P O D C ICT) ระดับจังหวัด และระดับเขต (คปสข.) 3.การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ( K A P ) 4.การพัฒนาสถานประกอบการ 5.การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค 6.การเฝ้าระวังตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ 7.โครงการศึกษาวิจัย

  4. นิเทศ 75 จังหวัด 12 เขต

  5. 134 ครั้ง การปฏิบัติงาน 1. ติดตามงานของจังหวัด ด้านงาน คบส.ดังนี้ 1.1 การรณรงค์ความปลอดภัยด้านอาหาร ( Food Safety ) 1.2 การควบคุมตัวยาและสารเคมี 1.3 การพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

  6. การปฏิบัติงาน 1. ติดตามงานของจังหวัด ด้านงาน คบส. (ต่อ) 1.4 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน OTOP 1.5 การรณรงค์ งาน คบส.ในโรงเรียน (อย.น้อย) 1.6 การประเมินโรงงานตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (GMP)

  7. การปฏิบัติงาน 2. ติดตาม กำกับ ประสานงาน คบส. แผนงาน/โครงการที่ อย.สนับสนุนงบประมาณ 3. ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ให้มีประสิทธิภาพ

  8. การตอบสนองต่อนโยบาย ของกิจกรรมการนิเทศงาน

  9. การตอบสนองต่อนโยบาย อย. ต่อผู้บริโภค 1 ส่งเสริมให้ผู้บริโภค ได้รับการคุ้มครอง สิทธิ ตามเจตนารมย์ของ รัฐธรรมนูญ ในมาตรา 57

  10. การตอบสนองต่อนโยบาย อย. ต่อผู้บริโภค 2 ดำเนินการสร้างความตื่นตัวของ ผู้บริโภค ให้สามารถและมีช่องทาง ในการร้องเรียน แจ้งเบาะแส และปกป้องสิทธิ

  11. การตอบสนองต่อนโยบาย อย. ต่อผู้บริโภค 3 สนับสนุนองค์กรสาธารณประโยชน์ เพื่อให้มีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดำเนิน การร่วมกับ อย. ในการคุ้มครอง ผู้บริโภค ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น

  12. คปสข. 75 จังหวัด 12 เขต

  13. การปฏิบัติงาน 75 ครั้ง 1.ประชุมเพื่อรายงานความก้าวหน้าการ ดำเนินงาน พร้อมเสนอแนวคิด และร่วมกันแก้ปัญหา

  14. การปฏิบัติงาน 75 ครั้ง 2.ประชุมเพื่อกำหนดแนวทางการ ดำเนินงานให้สอดคล้องกับ ภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลง

  15. การตอบสนองต่อนโยบาย ของกิจกรรมประชุม คปสข.

  16. การตอบสนองต่อนโยบาย อย. ต่อองค์กร และระบบงาน 1. เตรียมพร้อมสำหรับการกระจายอำนาจ ให้องค์กรปกครองท้องถิ่นมีความ สามารถ ในการคุ้มครองผู้บริโภค อย่างมีประสิทธิภาพ

  17. การตอบสนองต่อนโยบาย อย. ต่อองค์กร และระบบงาน 2. ส่งเสริมบทบาทนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ สายต่างๆ ให้มีบทบาทในการประเมิน และเสนอความเห็นด้านผลิตผลและ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์

  18. ประสานงาน+แลกเปลี่ยน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 985 ครั้ง 75 จังหวัด

  19. การปฏิบัติงาน 1.การประชุม Food Safety ผวจ. ทั่วประเทศ 2.การประชุม Food Safety ครู กทม. 3.การรณรงค์ Logo Food Safety 4.เป็นศูนย์กลางประสาน และ สนับสนุน งาน คบส.ระหว่าง ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น

  20. การตอบสนองต่อนโยบาย อย. ต่อผู้บริโภค 1. ส่งเสริมการดำเนินการในรูปแบบ พหุภาคี ในหมู่ผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการ สื่อมวลชน และผู้บริโภค

  21. พัฒนาศักยภาพ เจ้าหน้าที่ คบ. 33 คน

  22. การปฏิบัติงาน 1. เข้ารับการอบรมสัมมนาวิชาการ และนำมาใช้ในงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สนับสนุนการจัดอบรมสัมมนาวิชาการงาน คบส. เพื่อการปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพ และไปใน ทิศทางเดียวกัน

  23. การตอบสนองต่อนโยบาย อย. ต่อผู้บริโภค 1. ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความสามัคคี ตลอดจนขวัญ และกำลังใจของเจ้าหน้าที่ ในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค

  24. โครงการศึกษาวิจัย 3 โครงการ

  25. 1. โครงการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน ของผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ โดยใช้หลักเกณฑ์ที่ดีในการผลิตอาหาร ( GMP )

  26. ผลการดำเนินงาน • อบรม เจ้าหน้าที่และผู้ประกอบการ 10 ครั้ง 400 คนเพื่อพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิต สุขลักษณะ และระบบควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารจากสัตว์ • ประเมินสถานที่ผลิต 9 จังหวัด 85 โรงงาน หลังจากที่ผู้ประกอบการนำความรู้ไปปรับปรุงโรงงาน ซึ่งผลการตรวจประเมินอยู่ในระหว่างดำเนินการ

  27. 2. โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพ และความพร้อมของสถานประกอบการ ผลิตนมพร้อมดื่มที่จำหน่ายตาม โครงการอาหารเสริม(นม)โรงเรียน ในการนำหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต (GMP) ตามมาตรฐานสากลอย่างยั่งยืน

  28. ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. การคัดเลือกโรงงานเข้าร่วมโครงการ 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการ 3. การให้คำปรึกษาโดยทีมที่ปรึกษา 4. การติดตามประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญ 5. สรุปผลการพัฒนายกระดับนมพร้อมดื่ม

  29. ผลการดำเนินงาน ปีที่ 1 เข้าร่วมโครงการ 12 โรงงาน 9 โรงงาน สามารถตรวจสอบตนเอง ตรวจวิเคราะห์ วิเคราะห์จุดอ่อน และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ปีที่ 2เข้าร่วมโครงการ 20 โรงงาน พบความบกพร่องด้านโครงสร้างการผลิต สุขลักษณะ และระบบเอกสาร ซึ่งต้องพัฒนาต่อไป

  30. ผลการดำเนินงาน (ต่อ) • การจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจด้านเทคโนโลยีการผลิต สุขลักษณะและระบบการควบคุมคุณภาพของนมพร้อมดื่มตามหลักเกณฑ์ GMP สากล ให้แก่เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ใน 17 จังหวัด • การตรวจประเมิน โรงงาน ตามหลักเกณฑ์ GMP สากล จำนวน 20 โรงงาน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 83.5%

  31. 3. โครงการศึกษาโดยใช้หน่วยตรวจสอบ เคลื่อนที่ประเมินสถานการณ์และ ตรวจสอบอาหาร ตามมาตรฐาน ความปลอดภัยด้านอาหาร (Mobile Unit )

  32. ผลการดำเนินงาน ปฏิบัติงาน270 ครั้ง จำนวน 43 จังหวัด เก็บตัวอย่าง 28,475 ตัวอย่าง ตกมาตรฐาน 444 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 1.56

  33. โครงการพัฒนาศึกษาวิจัย ระดับเขต/ภาค งบประมาณ จำนวน 3 ล้านบาท โครงการ คบส. 27 โครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหา คบส.พื้นที่ ซึ่งอยู่ในระหว่างสรุปผลการดำเนินงาน ….

  34. เขต 1 จำนวน 1 โครงการ • โครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังคุณภาพเพื่ออาหารปลอดภัย เขต 2 จำนวน 4 โครงการ • โครงการสร้างกระแสมวลชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค • โครงการพัฒนากลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน จ.สระบุรี • โครงการสร้างแกนนำนักเรียนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ จ.ลพบุรี • โครงการอบรมฟื้นฟูเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภคเขต 2

  35. เขต 3 จำนวน 2 โครงการ • โครงการศึกษาดูงานคุ้มครองผู้บริโภคเขต 3 จ.ปราจีนบุรี • ีโครงการพัฒนาศักยภาพผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ในตลาดสด เขต 4 จำนวน 1 โครงการ • โครงการประสานแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เขต 4

  36. เขต 5 จำนวน 1 โครงการ • โครงการหูฟังโฆษณา ตาอ่านฉลาก ปากใช้สิทธิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 6 จำนวน 4 โครงการ • โครงการหูฟังโฆษณา ตาอ่านฉลาก ปากใช้สิทธิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เขต6

  37. เขต 6 จำนวน 4 โครงการ (ต่อ) • โครงการสัมมนาการเสริมสร้างทักษะและปรับแนวทางการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ • โครงการเฝ้าระวังและรณรงค์เผยแพร่ความรู้ด้าน จ.ขอนแก่น ปี 2546 เขต 7 จำนวน 1 โครงการ • โครงการหูฟังโฆษณา ตาอ่านฉลาก ปากใช้สิทธิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  38. เขต 8 จำนวน 1 โครงการ • โครงการประสานแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เขต 9 จำนวน 7 โครงการ • โครงการมื้อเช้าปลอดภัยคุณเลือกได้ จ.เพชรบูรณ์ • โครงการมื้อเช้าปลอดภัย ห่างไกลโรค จ.พิษณุโลก • โครงการมื้อเช้าปลอดภัยคุณเลือกได้ จ.อุตรดิตภ์ • โครงการมื้อเช้าปลอดภัยคุณเลือกได้ จ.น่าน • โครงการมื้อเช้าปลอดภัยคุณเลือกได้ จ.พิจิตร

  39. เขต 9 จำนวน 7 โครงการ (ต่อ) • โครงการมื้อเช้าปลอดภัยคุณเลือกได้ จ.เพร่ • โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบผลการเลี้ยงสุกรด้วยอาหารสำเร็จรูปผสมส่าเหล้าพื้นบ้าน อาหารสำเร็จรูปและอาหารสำเร็จรูปที่ผสมสารเร่งเนื้อแดง เขต 10 จำนวน 1 โครงการ • โครงการร่วมใจท้องถิ่น เพื่ออาหารปลอดภัย เขต 10

  40. เขต 11 จำนวน 3 โครงการ • โครงการมระกวดโรงเรียนดีเด่นงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เขต 11 • โครงการแก้ไขปัญหายาตกค้างในเนื้อสัตว์ จ.สุราษฎร์ธานี • โครงการประกวดชุมชนดีเด่นงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข จ.พังงา เขต 12 จำนวน 4 โครงการ • โครงการรำร่องการสร้างเสริมสุขภาพด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จ.ยะลา

  41. เขต 12 จำนวน 4 โครงการ (ต่อ) • โครงการพัฒนาการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขใน CPU จ.พัทลุง • โครงการจัดระดับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในโรงเรียน จ.ปัตตานี • โครงการอบรมศึกษาดูงาน คบส. ในโรงเรียนประถมศึกษา จ.ปัตตานี

  42. การเร่งรัดติดตาม GMP ในสถานที่ผลิตอาหาร • การตรวจสอบสถานที่ผลิตน้ำดื่มฯ 1,938 แห่ง • ผ่านเกณฑ์ GMP น้ำบริโภค 824 แห่ง • คิดเป็น 42.52% • ข้อมูล61จังหวัด ณ วันที่ 31 ส.ค. 46

  43. การเร่งรัดติดตาม GMP ในสถานที่ผลิตอาหาร • การตรวจสอบสถานที่ผลิตอาหารทั่วไป 1,174 แห่ง • ผ่านเกณฑ์ GMP อาหารทั่วไป 568 แห่ง • คิดเป็น 48.38% • ข้อมูล61จังหวัด ณ วันที่ 31 ส.ค. 46

  44. สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร (ตลาดสด) • มีการตรวจตลาดสดทั้งสิ้น 2,094 แห่ง • จำนวน 31,551 แผง • ได้รับป้ายทอง 332 แห่ง • ได้รับป้ายชั่วคราว 10,404 แห่ง

  45. การเฝ้าระวัง อาหาร (ตลาดสด) ตรวจสารเร่งเนื้อแดง 7,469 ตัวอย่าง • ตรวจพบ 360 ตัวอย่าง คิดเป็น 4.82% ตรวจสารบอแรกซ์ 26,127 ตัวอย่าง • ตรวจพบ 713 ตัวอย่าง คิดเป็น 2.73% ตรวจสารฟอกขาว 18,640 ตัวอย่าง • ตรวจพบ 1,422 ตัวอย่าง คิดเป็น 7.63%

  46. การเฝ้าระวัง อาหาร (ต่อ) ตรวจสารฟอร์มาลิน 10,459 ตัวอย่าง • ตรวจพบ 422 ตัวอย่าง คิดเป็น 4.03% ตรวจสารกันรา 14,863 ตัวอย่าง • ตรวจพบ 1,096 ตัวอย่าง คิดเป็น 7.32% ตรวจสาฆ่าแมลง 14,396 ตัวอย่าง • ตรวจพบ 1,418 ตัวอย่าง คิดเป็น 9.85%

  47. โครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรียนโครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน * มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 2,566 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจสอบอาหาร 5,074 ตัวอย่าง แบ่งเป็น ตรวจหาบอแรกซ์ 2,383 ตัวอย่าง พบมีสารบอแรกซ์ 76 ตัวอย่าง คิดเป็น 3.20% ตรวจหาจุลินทรีย์ 2,691 ตัวอย่าง พบมีจุลินทรีย์ 395 ตัวอย่าง คิดเป็น 14.68%

  48. ข้อมูลสถานการณ์สารปนเปื้อนในอาหารสด สารเร่งเนื้อแดง ก่อนรณรงค์ (ก่อนเดือน เม.ย. 46) พบการปนเปื้อนร้อยละ 96 เม.ย. 46 - มิ.ย. 46 พบการปนเปื้อนร้อยละ 14.61 ก.ค. 46 พบการปนเปื้อนร้อยละ 9.57 ข้อมูลจากสำนักตรวจราชการกระทรวง (เดือนเม.ย.-ก.ค.)

  49. ข้อมูลสถานการณ์สารปนเปื้อนในอาหารสด (ต่อ) บอแรกซ์ ก่อนรณรงค์ (ก่อนเดือน เม.ย. 46) พบการปนเปื้อนร้อยละ 42 เม.ย. 46 - มิ.ย. 46 พบการปนเปื้อนร้อยละ 3.55 ก.ค. 46 พบการปนเปื้อนร้อยละ 2.17 ข้อมูลจากสำนักตรวจราชการกระทรวง (เดือนเม.ย.-ก.ค.)

  50. ข้อมูลสถานการณ์สารปนเปื้อนในอาหารสด (ต่อ) สารฟอกขาว ก่อนรณรงค์ (ก่อนเดือน เม.ย. 46) พบการปนเปื้อนร้อยละ 10 เม.ย. 46 - มิ.ย. 46 พบการปนเปื้อนร้อยละ 6.95 ก.ค. 46 พบการปนเปื้อนร้อยละ 7.70 ข้อมูลจากสำนักตรวจราชการกระทรวง (เดือนเม.ย.-ก.ค.)

More Related