1 / 114

ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail 08-1801-6374

ความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล : การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบคุณภาพตามแนวทาง เกณฑ์คุณภาพการศึกษา. TQA. ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374. ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้. ที่มาที่ไปของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา.

anakin
Download Presentation

ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail 08-1801-6374

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล : การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบคุณภาพตามแนวทาง เกณฑ์คุณภาพการศึกษา TQA ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374

  2. ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้........ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้........ • ที่มาที่ไปของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา • MBNQA คืออะไร มีวิวัฒนาการอย่างไร • เหตุที่ต้องใช้เกณฑ์ความเป็นเลิศ (Baldrige Education Criteria) • เกณฑ์คุณภาพการศึกษา คืออะไร? • วัตถุประสงค์ของเกณฑ์เป็นอย่างไร? • คุณลักษณะและการใช้ประโยชน์ • ระดับพัฒนาการของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา • กรอบความคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา • เนื้อหาของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา

  3. ที่มาที่ไปของรางวัลคุณภาพแห่งชาติThailand Quality Award: TQA T Q A เป็นรางวัลอันทรงเกียรติที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง เป็นเครื่องหมายแสดงถึงความเป็นเลิศในการบริหารจัดการขององค์กรที่ทัดเทียมกับมาตรฐานโลก (MBNQA) คืออะไร

  4. Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA • เป็นมาตรฐานขององค์กรที่แสวงหาวิธีการดำเนินการที่มุ่งสู่คุณภาพระดับสูงสุด และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • เป็นกรอบให้องค์กรใช้ในการปรับปรุงระบบและกระบวนงานสู่คุณภาพที่ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง • ใช้ประเมินระบบคุณภาพและเป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างองค์กรต่างๆ บทพื้นฐานของความเข้าใจในองค์ประกอบที่สำคัญของระบบคุณภาพ

  5. Baldrige Education Criteriaเกณฑ์คุณภาพการศึกษา • ภาคธุรกิจเล็งเห็นความสำคัญของภาคบริการสุขภาพและภาคการศึกษาว่ามีสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการสร้างความเป็นเลิศทางธุรกิจ • ภาคธุรกิจจึงริเริ่มโครงการที่ใช้แนวทาง MBNQA ในภาคการศึกษา • เกณฑ์คุณภาพการศึกษาจึงถูกประกาศใช้เป็นทางการในปี 1999 หรือ พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา

  6. วัตถุประสงค์ของการประกาศใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาวัตถุประสงค์ของการประกาศใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษา • เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ระบบการบริหารจัดการโดยรวมของสถาบันการศึกษา • เพื่อส่งเสริมให้สถาบันการศึกษามีผลการดำเนินการ และมีพัฒนาการที่ดีขึ้น และนำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างสถาบันการศึกษาเองและกับองค์กรภาคธุรกิจและภาคบริการ

  7. รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award • เป็นรางวัลระดับมาตรฐานโลก ซึ่งมีพื้นฐานทางด้านเทคนิค และกระบวนการตัดสินเช่นเดียวกับรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (The Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) TQA เป็นต้นแบบของรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่หลายๆประเทศทั่วโลกนำไปประยุกต์ใช้

  8. ประเทศไทยกับ MBNQA.... • วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๓๙ วันลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี TQA • กำหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มผลผลิตของประเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ • มอบให้สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักในการประสานความร่วมมือ เพื่อเผยแพร่ สนับสนุน และผลักดันในการพัฒนา ขีดความสามารถการบริหารจัดการตามเกณฑ์ที่อยู่ในระดับมาตรฐานโลก

  9. รางวัลคุณภาพแห่งชาติ...รางวัลคุณภาพแห่งชาติ... 1.ช่วยปรับปรุงวิธีดำเนินการ ความสามารถ และผลดำเนินการขององค์กร มีบทบาท ที่สำคัญ ๓ ประการ 2.กระตุ้นให้มีการสื่อสาร และแลกเปลี่ยนข้อมูลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างองค์กรต่างๆ 3.เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดการ การดำเนินการ เป็นแนวทางในการวางแผน และช่วยเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ขององค์กร

  10. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ • เป็นเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสถาบันการศึกษาในภาพรวม คืออะไร • อยู่ในกรอบของการดำเนินงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ • สามารถใช้ประเมินได้ทั้งโรงเรียนและเขตการศึกษา • เป็นที่ยอมรับกันในประเทศชั้นนำต่างๆทั่วโลก • เป็นเกณฑ์เดียวกับเกณฑ์การประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ

  11. เกณฑ์คุณภาพการศึกษา... 1. เพื่อให้โรงเรียนต่างๆได้ใช้เกณฑ์นี้ไปพัฒนาปรับปรุงการดำเนินการ ขีดความสามารถ และผลลัพธ์ให้ดีขึ้น วัตถุประสงค์ 2. เป็นกลไกในการสื่อสารและการแบ่งปันเรียนรู้จากวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ 3. เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้าใจและทบทวนผลการดำเนินการในระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน รวมทั้งเป็นแนวทางในการวางแผนและเป็นโอกาสในการเรียนรู้ของโรงเรียนเอง

  12. เกณฑ์คุณภาพการศึกษา... 1. ใช้เป็นแนวทางที่บูรณาการในการจัดการผลการดำเนินการของตนเอง 2. ทำให้การจัดการศึกษามีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อประโยชน์กับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งผลต่อคุณภาพและความยั่งยืน จะช่วยโรงเรียนได้อย่างไร ? 3. ช่วยปรับปรุงประสิทธิผลและขีดความสามารถในการบริหารจัดการทั่วทั้งองค์กร 4. เกิดการเรียนรู้ทั้งในระดับองค์กรและบุคคล

  13. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... ๑ • ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และกระบวนการ มุ่งเน้น ผลลัพธ์ • ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า • ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร • ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร และการกำกับดูแลองค์กร • ผลลัพธ์ด้านการเงินและการตลาด

  14. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... ๒ • จุดเน้นอยู่ที่ผลลัพธ์ ไม่ใช่วิธีปฏิบัติ เครื่องมือ หรือโครงสร้าง ไม่กำหนดวิธีการ • การเลือกใช้เครื่องมือ เทคนิค ระบบ และโครงสร้างขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆและลักษณะเฉพาะขององค์กร • มุ่งเน้นข้อกำหนดเพราะจะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจ และสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม

  15. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... • เป้าประสงค์สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ๓ สนับสนุน มุมมองเชิงระบบ • เป็นรากฐานของโครงสร้างขององค์กรที่บูรณาการระหว่างค่านิยมและแนวคิดหลัก โครงร่างองค์กร เกณฑ์ แนวทางให้คะแนน การมุ่งเน้นผลลัพธ์ การเป็นเหตุและผล และการเชื่อมโยงระหว่างหัวข้อต่างๆ • เป็นวงจรการเรียนรู้ PDCA (PDSA)

  16. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... • มีข้อกำหนดเน้นที่ผลการดำเนินการ มี ๗ หมวด ๑๗ หัวข้อ ๔๑ ประเด็นพิจารณา และ ๘๔ คำถามเจาะลึก ๔ สนับสนุน การตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ • แนวทางให้คะแนน อธิบายถึงมิติต่างๆของการตรวจประเมิน ได้แก่ การะบวนการและผลลัพธ์ เพื่อที่จะนำไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินการในทุกด้าน เครื่องมือการบริหารจัดการที่สำคัญ

  17. การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาไปใช้...เพื่อดูว่า...การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาไปใช้...เพื่อดูว่า... • โรงเรียนมีการบริหารถูกทิศทางภายใต้การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ • โรงเรียนเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และมุ่งมั่นตอบสนองความต้องการดังกล่าวได้ • โรงเรียนมีวิธีการรวบรวมและใช้สารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการวางแผนและบรรลุเป้าหมายทั้งในปัจจุบันและอนาคต • มีวิธีการพัฒนาและใช้ความสามารถของครูและบุคลากร • มีวิธีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสีย ความผิดพลาด ผู้เรียนมีการเรียนรู้ตรงตามเป้าหมาย และการบริการ • การปรับปรุงในแง่มุมอื่นๆที่ดีจากมุมมองของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน บุคลากร ระบบงานและการเงิน

  18. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับการตั้งรับปัญหา เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน 0-25 % การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าเป็นกระบวนการ ส่วนใหญ่ตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ขาดการกำหนดเป้าประสงค์ที่ดี

  19. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับเริ่มเป็นระบบ 30-45 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเริ่มต้นด้วยการใช้กระบวนงานที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมิน ปรับปรุง เริ่มประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน มีการกำหนดกลยุทธ์ เป้าประสงค์เชิงปริมาณในบางเรื่อง

  20. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับ สอดคล้องไปทางเดียวกัน 50-65 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกระบวนงานที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมินอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง โดยมีการแบ่งปันความรู้ การประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน กระบวนการตอบสนองกลยุทธ์และเป้าประสงค์ของโรงเรียนในหลายด้าน

  21. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับ แนวทางที่มีการบูรณาการ 70-100 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกระบวนงานที่เป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ทำซ้ำได้ และมีการประเมินอย่างสม่ำเสมอเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง มีการปรับปรุงโดยความร่วมมือของหน่วยงานอื่น ผ่านการวิเคราะห์ การแบ่งปันสารสนเทศและความรู้ ส่งผลให้การทำงานข้ามหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกระบวนการ ใช้ตัวชี้วัดติดตามความก้าวหน้าของเป้าประสงค์ มีนวัตกรรมการปฏิบัติงานที่สำคัญ

  22. แนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่าง...แนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่าง... องค์กรที่ดี องค์กรที่ดีกว่า • ชี้นำโดยผู้นำ • การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ • มุ่งเน้นผลผลิต • มุ่งเน้นที่ผู้เรียน • ได้มาตรฐาน • ได้การเรียนรู้ขององค์กร • เห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติ คู่ความร่วมมือ • คิดสวนทางกับผู้ส่งมอบ • มุ่งความคล่องตัว • ปฏิบัติงานตามเงื่อนเวลา • มีผลงานทีละไตรมาส • มุ่งเน้นอนาคต • สร้างนวัตกรรม • ปฏิบัติตามคู่มือ • ตัดสินและบริหารตามความรู้สึก • บริหารจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • รับผิดชอบต่อสังคมในมุมกว้าง • ปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับ • เน้นการสร้างคุณค่าและผลลัพธ์ • มุ่งเน้นผลเฉพาะหน้า • มุมมองเชิงภาระหน้าที่ • มุมมองเชิงบูรณาการของระบบ

  23. องค์ประกอบหลักของรางวัลคุณภาพแห่งชาติองค์ประกอบหลักของรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์ และกระบวนการ ผลลัพธ์ด้านการเงิน และการตลาด การนำองค์กร ผลลัพธ์ มุมมองเชิงระบบ ๕ การนำองค์กร อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นลูกค้า การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นการปฏิบัติ ความรับผิดชอบ ต่อสังคมในมุมกว้าง กระบวนการ ๖ การเรียนรู้ระดับ องค์กรและบุคคล การจัดการโดย ใช้ข้อมูลจริง ค่านิยมและแนวคิดหลัก การมุ่งเน้นบุคลากร การมุ่งเน้นลูกค้า ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร และการกำกับดูแล การให้ความสำคัญกับ บุคลากรและพันธมิตร การจัดการ เพื่อนวัตกรรม ๑๑ การมุ่งเน้นอนาคต ความคล่องตัว การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร

  24. กรอบความคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และสภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ ๒ การวาง แผนกลยุทธ์ ๕ การมุ่งเน้น บุคลากร ๑ การนำองค์กร ๗ ผลลัพธ์ ๓ การมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๖ การจัดการ กระบวนการ ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  25. บทนำ: โครงร่างองค์กร โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และสภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ คือภาพรวมขององค์กร เป็นสิ่งสำคัญที่มีความสำคัญต่อการดำเนินงาน และเป็นความท้าทายสำคัญที่องค์กรเผชิญอยู่ เป็นจุดเริ่มต้นของการประเมินตนเอง และการเขียนรายงานเพื่อสมัครขอรับรางวัล ความสำคัญ ช่วยในการระบุสารสนเทศที่สำคัญ ข้อกำหนด และผลลัพธ์การดำเนินการที่สำคัญ ใช้ตรวจประเมินรายงานวิธีการ และผลการดำเนินงาน รวมถึงการตรวจเยี่ยมเพื่อทำความเข้าใจองค์กร องค์กรอาจนำโครงร่างองค์กรมาใช้เพื่อการประเมินตนเองเบื้องต้น

  26. บทนำ: โครงร่างองค์กร ๑. ลักษณะองค์กร: ลักษณะที่สำคัญขององค์กรคืออะไร อธิบายถึงสภาพแวดล้อมการดำเนินงานขององค์กรและความสัมพันธ์ที่สำคัญกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  27. บทนำ: โครงร่างองค์กร ๑. ลักษณะองค์กร : ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร (๑) ผลิตภัณฑ์: ผลิตภัณฑ์หลัก, เป้าหมายความสำเร็จ, กลไกที่ใช้ส่งมอบผลิตภัณฑ์ (๒) วิสัยทัศน์และพันธกิจ: วัฒนธรรม เจตจำนง วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ สมรรถนะ หลัก และความเกี่ยวข้องกับพันธกิจ (๓) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร: การจำแนกบุคลากร ระดับการศึกษา ความผูกพัน กับพันธกิจและวิสัยทัศน์ ความหลากหลายของลักษณะงาน กลุ่มต่างๆในองค์กร (๔) สินทรัพย์: อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และวัสดุอุปกรณ์ขององค์กร (๕) กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ: สภาพแวดล้อมภายใต้กฎ ระเบียบ กฎ ระเบียบเกี่ยวกับ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การจัดทะเบียน มาตรฐาน สิ่งแวดล้อมการเงิน ฯลฯ

  28. บทนำ: โครงร่างองค์กร ๑. ลักษณะองค์กร : ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร (๑) โครงสร้างองค์กร: ลักษณะโครงสร้าง ระบบการกำกับดูแล และระบบรายงาน (๒) ลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วยเสีย: ส่วนตลาด กลุ่มลูกค้า และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ ความต้องการและความคาดหวังของกลุ่มดังกล่าว ความแตกต่างของความต้องการของแต่ละกลุ่ม (๓) ผู้ส่งมอบและพันธมิตร: ประเภทและบทบาทของผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ กลไกที่สำคัญและการสื่อสาร บทบาทของกลุ่มดังกล่าวในการสร้างนวัตกรรม และข้อกำหนดสำคัญของห่วงโซ่อุปทาน

  29. บทนำ: โครงร่างองค์กร ๑. ลักษณะองค์กร: ลักษณะที่สำคัญขององค์กรคืออะไร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (STAKEHOLDERS) บุคคลหรือกลุ่มที่ได้รับหรืออาจได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติและความสำเร็จขององค์กร อาทิ ลูกค้า คู่ความร่วมมือ คณะกรรมการกำกับดูแล ผู้ถือหุ้น ผู้ส่งมอบ ผู้เสียภาษี องค์กรที่ดูแลกฎ ระเบียบ ผู้กำหนดนโยบาย ผู้ให้ทุนดำเนินการ ชุมชนและสมาคมวิชาชีพ เป็นต้น

  30. บทนำ: โครงร่างองค์กร ๒. สภาวการณ์ขององค์กร : ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน (๑) ลำดับในการแข่งขัน: ลำดับที่ ขนาดและการเติบโตเทียบกับองค์กรอื่นในลักษณะเดียวกัน จำนวนและประเภทคู่แข่ง (๒) การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน: การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ โอกาสในการสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือ (๓) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ: แหล่งข้อมูลสำคัญเชิงเปรียบเทียบและเชิงแข่งขันในธุรกิจเดียวกัน และธุรกิจอื่น ข้อจำกัดในการได้มาซึ่งข้อมูล

  31. บทนำ: โครงร่างองค์กร ๒. สภาวการณ์ขององค์กร : ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญด้านธุรกิจ/บริการ ด้านการปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในมุมกว้าง และด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กร

  32. บทนำ: โครงร่างองค์กร ๒. สภาวการณ์ขององค์กร : ค. ระบบปรับปรุงผลการดำเนินการ ส่วนประกอบสำคัญของระบบปรับปรุงผลการดำเนินการ รวมทั้งกระบวนประเมินผล กระบวนการเรียนรู้ระดับองค์กรและกระบวนการสร้างนวัตกรรม

  33. กรอบความคิดของเกณฑ์ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และสภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ เป็นการตรวจประเมินว่าการกระทำของผู้นำระดับสูงขององค์กรได้ชี้นำและทำให้องค์กรมีความยั่งยืนอย่างไร ตรวจประเมินระบบการกำกับดูแลองค์กร วิธีการที่องค์กรใช้เพื่อบรรลุด้านกฎหมาย จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคมในวงกว้าง และการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ ๒ การวางแผนกลยุทธ์ ๕ การมุ่งเน้น บุคลากร ๑ การนำองค์กร ๗ ผลลัพธ์ การดำเนินการ ๓ การมุ่งเน้นลูกค้า ๖ การมุ่งเน้น การปฏิบัติ ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  34. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๑ ผู้นำระดับสูงนำองค์กรอย่างไร : ก. วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ (๑) วิสัยทัศน์และค่านิยม: การดำเนินการกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยม การถ่ายทอดวิสัยทัศน์และค่านิยมไปสู่การปฏิบัติ ความมุ่งมั่นของผู้นำระดับสูงต่อค่านิยมขององค์กร (๒) การส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม: การปฏิบัติตนของผู้นำระดับสูงแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นต่อการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรม การสร้างบรรยากาศของการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรม

  35. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๑ ผู้นำระดับสูงนำองค์กรอย่างไร : ก. วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ (๓) การสร้างองค์กรที่ยั่งยืน: ผู้นำระดับสูงมีวิธีการทำให้องค์กรมีความยั่งยืนและประสบความสำเร็จในเรื่อง.... - การสร้างบรรยากาศของการปรับปรุงผลการดำเนินการ การบรรลุพันธกิจและวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การสร้างนวัตกรรม การเป็นผู้นำผลการดำเนินการและความคล่องตัวขององค์กร - การสร้างวัฒนธรรมบุคลากรที่ส่งมอบประสบการณ์ที่ดีให้แก่ลูกค้าอย่างคงเส้นคงวาและเสริมสร้างความผูกพันของลูกค้า - สร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้งระดับองค์กรและระดับบุคคล - พัฒนาและเสริมสร้างทักษะความเป็นผู้นำ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ระดับองค์กร วางแผนสืบทอดตำแหน่ง และการพัฒนาผู้นำในอนาคตขององค์กร

  36. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๑ ผู้นำระดับสูงนำองค์กรอย่างไร : ข. การสื่อสารและผลการดำเนินการขององค์กร • การสื่อสาร: วิธีดำเนินการสื่อสารและสร้างความผูกพันกับบุคลากรในองค์กร และวิธีดำเนินการที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จในเรื่อง... • - การกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารที่ตรงไปตรงมาแบบสองทาง • - การสื่อสารที่เป็นการตัดสินใจเรื่องสำคัญๆ • - การให้รางวัล ยกย่อง ชมเชย และการให้ความสำคัญกับลูกค้า/ธุรกิจ (๒) การทำให้เกิดการปฏิบัติการอย่างจริงจัง: การดำเนินการที่ทำให้เกิดการปฏิบัติงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และวิสัยทัศน์อย่างจริงจัง การปรับปรุงผลการดำเนินการ วิธีการระบุสิ่งที่ต้องทำในการกำหนดความคาดหวังของผลการดำเนินการ วิธีการสร้างคุณค่าที่คำนึงถึงความสมดุลระหว่างลูกค้ากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  37. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๒ การกำกับ ดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อองค์กร ในมุมกว้าง : ก. การกำกับดูแลองค์กร (๑) ระบบการกำกับดูแลองค์กร: วิธีดำเนินการทบทวนและทำให้องค์กรประสบความสำเร็จในเรื่องสำคัญในระบบการกำกับดูแลองค์กร... - ความรับผิดชอบของผู้บริหาร - ความรับผิดชอบด้านการเงิน - ความโปร่งใส การคัดเลือกคณะกรรมการที่กำกับดูแลองค์กรและนโยบายการเปิดเผยข้อมูล - ความอิสระในการตรวจสอบภายในและภายนอก - การปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ถือหุ้น

  38. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๒ การกำกับ ดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อองค์กร ในมุมกว้าง : ก. การกำกับดูแลองค์กร (๒) การประเมินผลการดำเนินการ: - วิธีดำเนินการประเมินผลการดำเนินการ และการใช้ผลการดำเนินการกำหนด ค่าตอบแทนของผู้นำองค์กร - วิธีการประเมินผลการดำเนินการของคณะกรรมการกำกับดูแลองค์กร และการใช้ ผลการทบทวนผลการดำเนินการไปพัฒนา ปรับปรุงประสิทธิผลของการนำองค์กร ของผู้นำ ของคณะกรรมการฯ และของระบบการนำองค์กรในโอกาสต่อไป

  39. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๒ การกำกับ ดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อองค์กร ในมุมกว้าง : ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม • การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ: • - วิธีการดำเนินการคาดการณ์ล่วงหน้ากรณีที่ผลิตภัณฑ์และการปฏิบัติเกิดผลกระทบ • เชิงลบต่อสังคมทั้งในปัจจุบัน และอนาคต • - วิธีการเตรียมการเชิงรุกเกี่ยวกับความกังวลและผลกระทบเชิงลบที่จะเกิดขึ้น • - วิธีการดำเนินการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและกระบวนจัดการห่วงโซ่อุปทานที่มี • ประสิทธิผล • - กระบวนการ ตัวชี้วัด และเป้าประสงค์สำคัญที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบและการดำเนินงานเรื่องความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

  40. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๒ การกำกับ ดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อองค์กร ในมุมกว้าง : ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม (๒) การประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม: - วิธีการดำเนินการเสริมสร้างและการสร้างความมั่นใจในการประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม - กระบวนการ ตัวชี้วัดที่สำคัญในการส่งเสริมและการกำกับดูแลการประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรมภายใต้โครงสร้าง การปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า พันธมิตร ผู้ส่งมอบ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ - วิธีการดำเนินการในการกำกับดูแลกรณีที่มีการกระทำที่ขัดต่อประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม

  41. หมวดที่ ๑ การนำองค์กร ๑.๒ การกำกับ ดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคมใน มุมกว้าง : ค. ความรับผิดชอบต่อสังคมในมุมกว้าง และการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (๑) ความผาสุกของสังคมในวงกว้าง: - การกำหนดกลยุทธ์และการปฏิบัติที่คำนึงถึงความผาสุกและประโยชน์ของสังคม - การมีส่วนในการสร้างความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ (๒) การสนับสนุนชุมชน: - วิธีการดำเนินการสำคัญในการสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน - วิธีการกำหนดชุมชนที่สำคัญขององค์กร - กิจกรรมที่องค์กร ผู้นำองค์กรและบุคลากรในการใช้สมรรถนะหลักขององค์กรเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน

  42. กรอบความคิดของเกณฑ์ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และสภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ เป็นการตรวจประเมินว่าองค์กรจัดทำวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการขององค์กรอย่างไร รวมทั้งตรวจประเมินการนำวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่เลือกไว้ไปปฏิบัติ การปรับเปลี่ยนเมื่อสถานการณ์เปลี่ยนไป ตลอดจนวิธีการวัดผลความก้าวหน้า ๒ การวางแผน เชิงกลยุทธ์ ๕ การมุ่งเน้น บุคลากร ๑ การนำองค์กร ๗ ผลลัพธ์ การดำเนินการ ๓ การมุ่งเน้นลูกค้า ๖ การมุ่งเน้น การปฏิบัติ ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  43. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๑ การจัดทำกลยุทธ์: อธิบายถึงวิธีการที่องค์กรใช้ในการสร้างกลยุทธ์ที่ให้ความสำคัญกับความท้าทายเชิงกลยุทธ์และใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ รวมทั้งวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สำคัญขององค์กรและเป้าประสงค์ที่เกี่ยวข้อง

  44. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๑ การจัดทำกลยุทธ์: ก. การจัดทำกลยุทธ์ (๑) กระบวนการวางแผนกลยุทธ์: - วิธีการ ขั้นตอน ผู้ที่เกี่ยวข้องสำคัญ การระบุจุดบอดที่อาจจะเกิดขึ้นของกระบวนการจัดทำกลยุทธ์ - วิธีการกำหนดสมรรถนะหลักขององค์กร ความท้าทายและความได้เปรียบเชิง กลยุทธ์ขององค์กร - วิธีการกำหนดกรอบเวลาของแผนระยะสั้น ระยะยาว

  45. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๑ การจัดทำกลยุทธ์: ก. การจัดทำกลยุทธ์ (๒) การวิเคราะห์และกำหนดกลยุทธ์: - วิธีการสร้างความมั่นใจในการนำองค์ประกอบต่อไปนี้มาประกอบการวางแผนกลยุทธ์ วิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ... ๑) จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคขององค์กร ๒) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ตลาด ผลิตภัณฑ์ ความนิยมขิงลูกค้า การแข่งขัน ภาวะทางเศรษฐกิจ กฎระเบียบ และข้อบังคับ ๓) ความยั่งยืน สมรรถนะหลัก การคาดการณ์ผลการดำเนินการในอนาคตขององค์กรและคู่แข่งขัน หรือการเทียบเคียงองค์กรในระดับเดียวกัน ๔) ความสามารถในการแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ

  46. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๑ การจัดทำกลยุทธ์: ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (๑) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ: - อะไรคือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ - ตารางเวลาที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สำคัญ - เป้าประสงค์ที่สำคัญที่สุดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (๒) การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์:ตอบสนองในสิ่งต่อไปนี้.... - ความท้าทาย การได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ โอกาสในการสร้างนวัตกรรมของผลผลิต การปฏิบัติการ และรูปแบบการดำเนินการ - การใช้ประโยชน์จากสมรรถนะหลักขององค์กรปัจจุบันและที่จะเกิดขึ้นในอนาคต - ความสมดุลระหว่างความท้าทาย โอกาส และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด - การยกระดับความสามารถขององค์กรในการปรับตัว

  47. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๒ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ : อธิบายถึงวิธีการแปลงวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่แผนปฏิบัติการ สรุปแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัดสำคัญของแผนปฏิบัติการ การคาดการณ์ผลกรดำเนินการในอนาคตเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด

  48. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๒ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ : ก. การจัดทำแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ (๑) การทำแผนปฏิบัติการ: - วิธีการและสาระสำคัญของการจัดทำแผนปฏิบัติการ - ความสัมพันธ์ต่อวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ - สาระของการเปลี่ยนแปลงสำคัญด้านผลิตภัณฑ์ ลูกค้าและตลาด ผู้ส่งมอบและพันธมิตร และวิธีการดำเนินการ (๒) การนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ: - วิธีการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร บุคคล ผู้ส่งมอบและพันธมิตร - วิธีการที่ทำให้เกิดความมั่นใจว่าผลการดำเนินการที่สำคัญตามแผนฯมีความยั่งยืน

  49. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๒ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ : ก. การจัดทำแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ (๓) การจัดสรรทรัพยากร: - วิธีการสร้างความมั่นใจว่ามีทรัพยากรด้านการเงินและอื่นๆเพียงพอตามแผนฯ - วิธีจัดสรรทรัพยากร การจัดการด้านความเสี่ยงด้านการเงินและอื่นๆ (๔) แผนด้านบุคลากร: - แผนด้านบุคลากรที่สำคัญที่ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ - แผนปฏิบัติการระยะสั้น ระยะยาวที่คำนึงผลกระทบต่อบุคลากร - การเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นเกี่ยวกับขีดความสามารถและอัตรากำลัง

  50. หมวดที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๒.๒ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ : ก. การจัดทำแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ (๕) ตัววัดผลการดำเนินการ: - ตัวชี้วัดผลการดำเนินการที่สำคัญที่ใช้ติดตามผลลัพธ์และประสิทธิผล - วิธีการที่จะสร้างความมั่นใจถึงระบบการวัดผล ความสอดคล้อง ครอบคลุมเรื่องที่ปฏิบัติและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญทั้งหมด (๖)การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ: - วิธีการปรับเปลี่ยนแผนและการนำไปใช้ปฏิบัติตามสถานการณ์บังคับ

More Related