320 likes | 738 Views
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply). อุปสงค์ (Demand) จำนวนหรือปริมาณต่างๆ ของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าและบริการชนิดนั้น. องค์ประกอบของอุปสงค์. กฎของอุปสงค์.
E N D
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทาน(Demand and Supply) อุปสงค์(Demand) จำนวนหรือปริมาณต่างๆของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณระดับราคาต่างๆของสินค้าและบริการชนิดนั้น องค์ประกอบของอุปสงค์
กฎของอุปสงค์ ปริมาณซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง (Qx) จะแปรผกผันกับ ระดับราคาของสินค้า(Px) ชนิดนั้น โดยที่ปัจจัยอื่นๆคงที่ (เช่นรายได้รสนิยมราคาสินค้าอื่นๆเป็นต้น) ชนิดของอุปสงค์ 1. อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) Qx = f(Px) เมื่อ Qx = ปริมาณเสนอซื้อสินค้า x Px = ระดับราคาของสินค้า x
Px (บาท) 70 65 Qx (หน่วย) 1 2 : แสดงเส้นอุปสงค์ต่อราคา
Y (บาท) Qx (หน่วย) 2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) Qx = f (y) เมื่อ Qx = ปริมาณเสนอซื้อสินค้า x y = ระดับรายได้ของผู้บริโภค กรณี normal goods (สินค้าปกติ) y Qx กรณี inferior goods (สินค้าด้อย) y Qx
Pc (บาท) Qx (หน่วย) 3. อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น (Cross Demand) Qx = f (Pc) เมื่อ Qx = ปริมาณเสนอซื้อสินค้า x Pc = ระดับราคาสินค้าชนิดอื่น · กรณีสินค้าประกอบกัน (Complementary goods) Pc Qx · กรณีสินค้าทดแทนกัน (Substitution goods) Pc Qx
Px (บาท) A B Qx (หน่วย) Px (บาท) Qx (หน่วย) D1 D D0 การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ (Change in Demand) I. เมื่อราคาของสินค้าเปลี่ยนแปลง โดยสิ่งอื่นๆคงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงภายในเส้นเดิม II. เมื่อปัจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลง โดยราคาคงที่ เส้นอุปสงค์ shift ออกจากเส้นเดิม P0 Q0 Q1
สาเหตุที่ทำให้อุปสงค์เปลี่ยนแปลงสาเหตุที่ทำให้อุปสงค์เปลี่ยนแปลง 1) ราคาของสินค้าที่กำลังพิจารณา 2) รสนิยมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง 3) รายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง 4) ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลง 5) ฤดูกาล 6) จำนวนผู้บริโภคในตลาด 7) การกระจายรายได้ของผู้บริโภค 8) ความต้องการออมเงินของผู้บริโภค 9) การคาดคะเนเกี่ยวกับราคาสินค้าในอนาคต
การเปรียบเทียบระหว่างเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณซื้อการเปรียบเทียบระหว่างเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณซื้อ กับเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคา Ed = % Q / % P = การเปลี่ยนแปลงในปริมาณซื้อ * 100 ปริมาณเดิม การเปลี่ยนแปลงในราคา * 100 ราคาเดิม = Q X Pเดิม P Qเดิม ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand)
ข้อสังเกตเกี่ยวกับ Ed • ค่าความยืดหยุ่นไม่มีหน่วย • Ed มีค่าเป็นลบเสมอแสดงให้เห็นว่าราคาแปรผกผันกับปริมาณ • มากหรือน้อยพิจารณาที่ตัวเลขไม่คำนึงถึงเครื่องหมาย • ถ้าเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อมากกว่า เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา • แสดงว่าความต้องการสินค้ามีความยืดหยุ่นต่อราคาสูง(Elastic Demand) • ถ้าเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ น้อยกว่า เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา • แสดงว่าความต้องการสินค้ามีความยืดหยุ่นต่อราคาต่ำ(Inelastic Demand) • มีค่าระหว่าง 0 ถึง∞
I. การหาค่าความยืดหยุ่นณจุดใดจุดหนึ่งบนเส้นอุปสงค์ (Point Elasticity of Demand) กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อยหรือจุด 2 จุดบนเส้นอุปสงค์ อยู่ใกล้เคียงกันมากจนเกือบเป็นจุดเดียวกัน Ed = Q x Pเดิม P Qเดิม วิธีวัดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา มี 2 วิธี Ex สินค้าราคา 20 บาทต่อหน่วยนายกจะซื้อ 10 หน่วยต่อมาราคาสินค้าลดลง เป็นหน่วยละ 18 บาทนายกจะซื้อเพิ่มขึ้นเป็น 15 หน่วยจงหาค่า Ed
Ans. Ed = Q x P1+P2 P Q1+ Q2 II. การหาค่าความยืดหยุ่นระหว่างจุดสองจุดบนเส้นอุปสงค์ (Arc or Average Elasticity of Demand) กรณีที่ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากหรือจุด 2 จุดบนเส้นอุปสงค์ห่างกันมาก Ex. เดิมราคาส้มกิโลกรัมละ 20 บาทนายก. จะซื้อส้ม 300 กิโลกรัมต่อมาส้มราคาเพิ่มขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 30 บาทนายก. จะซื้อลดลงเป็น 200 กิโลกรัมจงหา Ed
Ans. Ed เท่ากับ หมายความว่า การหาค่า Ed
Px (บาท) D D Qx (หน่วย) Px (บาท) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ไม่มีความยืดหยุ่นเลย (Perfectly Inelastic Demand) Ed=0 มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Demand) 0 < Ed < 1
D D Px (บาท) Px (บาท) Qx (หน่วย) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand) 1 < Ed < ความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand) Ed = 1
ความยืดหยุ่นมีค่ามากที่สุด (Perfectly Elastic Demand) Ed = D Px (บาท) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่น • กรณีเส้นอุปสงค์ต่อราคามีค่าความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic) 1. เป็นสินค้าที่จำเป็นต่อการบริโภค 2. เป็นสินค้าที่ไม่สามารถหาสินค้าอื่นทดแทนได้ 3. เป็นสินค้าที่ราคาต่ำ 4. ระยะเวลาในการปรับตัวของผู้บริโภคสั้น
ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่น • กรณีเส้นอุปสงค์ต่อราคามีค่าความยืดหยุ่นมาก (Elastic) 1. เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย 2. หาสินค้าอื่นทดแทนได้ง่าย 3. เป็นสินค้าที่ราคาสูงมากๆ 4. ผู้บริโภคมีระยะเวลาในการปรับตัวพอ
อุปทาน (Supply) ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายต้องการเสนอขาย จะแปรผันในทิศทางเดียวกับราคาโดยที่ปัจจัยอื่นๆคงที่ Qs= f (P) เมื่อ Qs = ปริมาณเสนอขาย P = ราคาสินค้า
ปัจจัยกำหนดอุปทาน 1. เทคนิคการผลิต 2. ราคาปัจจัยการผลิต 3. เป้าหมายของผู้ผลิต 4. จำนวนผู้ผลิตหรือผู้ขาย 5. ระยะเวลาการผลิต 6. นโยบายของรัฐ 7. ราคาสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง 8. การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต ฯลฯ
S Px (บาท) Qx (หน่วย) ลักษณะของเส้นอุปทาน (Supply Curve) Individual Supply and Market Supply
So S S1 Px (บาท) Px (บาท) Qx (หน่วย) Qx (หน่วย) การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน(Change in Supply) • ราคาของสินค้าเปลี่ยนแปลงสิ่งอื่นๆคงที่ • เมื่อปัจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลงโดยราคาคงที่
เป็นบวกเสมอ Es= % Q / % P ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply = Es) Ex. ถ้าส้มราคากิโลกรัมละ 30 บาทจะมีผู้เสนอขายส้มในตลาดทั้งหมดเท่ากับ 20,000 กิโลกรัมถ้าราคาส้มเพิ่มขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 40 บาทจะมีผู้เสนอขาย ทั้งหมด 24,000 กิโลกรัมจงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาส้ม
S S Px (บาท) Px (บาท) Qx (หน่วย) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ไม่มีความยืดหยุ่น (Perfectly Inelastic Supply) Es=0 ยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Supply) 0 < Es < 1
S S Px (บาท) Px(บาท) Qx (หน่วย) Qx(หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ความยืดหยุ่นมาก (Elastic Supply) 1 < Es < มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Supply) Es = 1
S Px(บาท) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ค่าความยืดหยุ่นมีค่ามากที่สุด (Perfectly Elastic Demand) Ed =
ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา • ระยะเวลาเฉพาะหน้า (Immediately Period) • ระยะสั้น (Short Run Period) • ระยะยาว (Long Run Period)
คำถาม 1.อุปสงค์และอุปทานในทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราอย่างไร 2. จงอธิบายพร้อมวาดกราฟประกอบเหตุผลว่าทำไมปัจจุบันคนจึงหันมาใช้ก๊าซโซฮอล์กัน มากขึ้นและก๊าซโซฮอล์จัดเป็นสินค้าประเภทใด 3.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์คืออะไรมีค่าอยู่ในช่วงใดและทำไมจึงเป็นค่าลบเสมอ มีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันอย่างไร 4. ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์เหมือนหรือแตกต่างกับปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่น ของอุปสงค์อย่างไร 5.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาคืออะไรทำไมจึงมีค่าเป็นบวกเสมอ มีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันอย่างไร
6. ปัจจัยที่กำหนดอุปทานเหมือนหรือแตกต่างจากปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่นของ อุปทานต่อราคาอย่างไร 7. เห็นด้วยหรือไม่ว่าน้ำมันเป็นสินค้าที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาต่ำ เพราะเหตุใด 8. กรณีสินค้าที่มี Ed > 1 เช่นสินค้าฟุ่มเฟือยถ้าผู้ขายขึ้นราคาสินค้าจะส่งผลต่อรายรับ ของผู้ขายอย่างไรยกตัวอย่างด้วย (รายรับ = ราคา x ปริมาณ) 9. อธิบายการเกิดดุลยภาพในตลาดสินค้า 10.กฎของอุปสงค์จะเป็นจริงเสมอเมื่ออยู่ภายใต้เงื่อนไขใดเพราะเหตุใดจึงต้องกำหนด เงื่อนไขนั้น