300 likes | 698 Views
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา. ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา ค่าตอบแทนเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพ ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยา น ค่าตอบแทนพยาน /ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะเดินทาง นักจิตวิทยาหรือนัก สังคมสงเคราะห์. ผลการเบิกจ่ายเงินในปีงบประมาณ 2552
E N D
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญาค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา
ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญาค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา • ค่าตอบแทนเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพ • ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน • ค่าตอบแทนพยาน /ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน • ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะเดินทาง นักจิตวิทยาหรือนัก • สังคมสงเคราะห์
ผลการเบิกจ่ายเงินในปีงบประมาณ 2552 ของ ภ.จว.ชลบุรี
ได้รับจัดสรร เบิกจ่าย (บาท) (บาท) ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา 10,922,800 17,389,504 ค่าตอบแทนการชันสูตรพลิกศพ 140,000 45,700 ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน 250,000 199,400 ค่าตอบแทนพยาน/คุ้มครองพยาน 400,000 0 ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะ นักจิตวิทยาฯ 240,000 64,500 รวมทั้งสิ้น 11,952,800 17,699,104
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง/การปฏิบัติระเบียบที่เกี่ยวข้อง/การปฏิบัติ ระเบียบ กค. ว่าด้วย การจ่ายเงินค่าตอบแทนการสอบสวน คดีอาญา พ.ศ.2534 • ผู้มีสิทธิขอรับเงิน - พนักงานสอบสวน • ผู้รับรองสิทธิ - ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้น • ผู้อนุมัติจ่ายเงิน - หัวสถานีตำรวจ
อัตราการจ่าย • จำคุกไม่เกินสามปี - คดีละ 500 บาท • จำคุกตั้งแต่สามปีไม่เกินห้าปี - คดีละ 1,000 บาท • จำคุกตั้งแต่สิบปีขึ้นไป - คดีละ 1,500 บาท ถ้ารู้ตัวผู้กระทำผิดแต่จับกุมตัวไม่ได้ให้เบิกได้ครึ่งหนึ่ง คดีใดที่เบิกค่าตอบแทนแล้ว ต่อมามีการจับกุมตัวผู้ต้องหาในคดีนั้นเพิ่มเติม จะเบิกค่าตอบแทนอีกไม่ได้
คดีที่ห้ามเบิก • คดีฟ้องด้วยวาจา • คดีที่ พงส.มีอำนาจเปรียบเทียบปรับ • คดีความผิดอันยอมความได้ เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์โดยถูกต้อง • คดีความผิดลหุโทษ • คดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว ระยะเวลาที่ขอเบิก พงส.ต้องยื่นแบบขอรับเงินภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พนักงานอัยการได้รับสำนวนการสอบสวน
การควบคุม ให้สถานีตำรวจที่ พงส. สังกัดอยู่ จัดทำบัญชีคุมแบบขอรับเงินค่าตอบแทนฯ แล้วดำเนินการเบิกจ่ายไปตามลำดับ
ปัญหา งบประมาณที่ได้รับในแต่ละปีไม่เพียงพอเบิกจ่าย แนวทางแก้ไข เนื่องจากเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้กำหนดในเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในปีงบประมาณที่เกิดค่าใช้จ่าย ดังนั้นจึงสามารถนำแบบขอรับเงินของ พงส. ไปขอเบิกจ่ายเงินได้เมื่อได้รับจัดสรรงบประมาณภายใต้เงื่อนไข ดังนี้
พงส. ต้องยื่นแบบขอรับเงินภายใน หกสิบวันนับแต่วันส่งสำนวนให้อัยการ แล้วให้ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปลงนามรับรองสิทธิ แต่ยังไม่ต้องให้หัวหน้าสถานีตำรวจลงนามอนุมัติการจ่าย • ให้เจ้าหน้าที่เสมียนคดีที่ได้รับมอบหมายรวบรวมแบบขอรับเงินของ พงส. จัดทำบัญชีคุมใบสำคัญไว้ตามลำดับ • เมื่อสถานีตำรวจได้รับแจ้งวงเงินจัดสรรจาก ภ.จว. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดทำบัญชีคุมใบสำคัญนำแบบขอรับเงินตามบัญชีคุมที่ได้จัดทำไว้เรียงตามลำคับการคุมภายในวงเงินที่ได้รับจัดสรรเสนอหัวหน้าสถานีตำรวจลงนามอนุมัติการจ่ายเงิน • นำส่งใบสำคัญให้ ภ.จว.ดำเนินการเบิกจ่ายเงินให้ต่อไป ข้อห้ามอย่าให้ หน.สภ.ลงนามอนุมัติการจ่ายเงินไว้ก่อน เพราะถ้าไม่มีงบประมาณเบิกจ่าย แบบขอรับเงินดังกล่าวจะเป็นค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี
ระเบียบ ยธ. ว่าด้วยการจ่ายค่าตอบแทน หรือค่าป่วยการ ค่าพาหนะเดินทางและค่าเช่าที่พักของแพทย์และเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพตาม ป.วิอาญา มาตรา 150 พ.ศ.2543 • สิทธิในการขอรับเงินของพนักงานสอบสวนในฐานะเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพในที่เกิดเหตุ • อัตราการจ่าย - ไม่เกิน 800 บาท/คน/ครั้ง • ผู้มีอำนาจอนุมัติการจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ
ระเบียบ ยธ. ว่าด้วย การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการส่ง หมายเรียกพยานแก่เจ้าพนักงานผู้ส่งหมาย ตาม ป.วิอาญา มาตรา 55/1 พ.ศ.2548 • ผู้มีสิทธิรับเงิน - เจ้าพนักงานผู้ส่งหมายเรียกพยาน • อัตราการจ่าย - ในเขต กทม. อัตรา 150 บาท/หมาย - นอกเขต กทม. อัตรา 200 บาท/หมาย • ผู้รับรองสิทธิ - หัวหน้างานสอบสวน/หัวหน้ากลุ่มงาน สอบสวน/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย • ผู้อนุมัติเบิกจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ/หัวหน้าหน่วยงาน ของเจ้าพนักงานผู้ส่งหมายเรียกพยาน
การปฏิบัติ คำสั่ง ตร. ที่ 431/2550 ลง 1 ส.ค.2550 เรื่อง หลักเกณฑ์ และแบบขอรับเงินค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน ตาม ป.วิอาญา มาตรา 55/1 1. คดีเดียวกันพยานหลายคนอยู่บ้านเดียวกันจ่ายให้หมายเดียว 2. คดีเดียวกันพยานหลายคนอยู่บ้านคนละหลัง แต่แขวง/ตำบลเดียวกัน 2.1 ส่งหมายเรียกหลังแรกจ่ายตามอัตราที่ระเบียบกำหนด 2.2 ส่งหมายเรียกพยานรายต่อๆ ไปในบ้านแต่ละหลังจ่าย ครึ่งหนึ่งตามอัตราที่ระเบียบกำหนด 3. คดีเดียวกันพยานหลายคนอยู่แขวง/ตำบลต่างกัน จ่ายตามอัตราที่ ระเบียบกำหนด
การส่งหมายเรียกที่ห้ามเบิกค่าใช้จ่ายการส่งหมายเรียกที่ห้ามเบิกค่าใช้จ่าย • พยานเป็นข้าราชการตำรวจหรือลูกจ้างที่อยู่ใน สภ. หรือหน่วยงานเดียวกับเจ้าพนักงานผู้ส่งหมาย • การส่งหมายเรียกทางไปรษณีย์ • การส่งหมายเรียกพยานให้ส่วนราชการ
ระเบียบ ยธ. ว่าด้วย ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่พยาน สามี ภรรยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดานของพยาน หรือบุคคลอื่นที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพยานในคดีอาญา พ.ศ.2547 ค่าใช้จ่ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของสถานีตำรวจ 1. ค่าตอบแทนพยานในชั้นพนักงานสอบสวน เฉพาะที่ระบุ ไว้ในสำนวน อัตราการจ่าย - พยานที่อยู่ในเขตจังหวัดเดียวกับสถานี ตำรวจ ครั้งละ 200 บาท - พยานที่อยู่ต่างจังหวัด ครั้งละ 500 บาท
ผู้อนุมัติการจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ/หัวหน้าหน่วยงาน ที่พยานได้มาให้ข้อเท็จจริง แนวทางปฏิบัติ หนังสือ ตร. ที่ 0031.212/6210 ลง 14 พ.ย.2549 เรื่อง การเบิกจ่ายค่าตอบแทนพยานซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ผู้สืบสวนคดีอาญา • ควรจ่ายค่าตอบแทนแก่พยานที่เป็นประชาชนก่อน หากมีเงินงบประมาณเหลือก็อนุมัติจ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นลำดับต่อไป • ในระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน ผู้ที่จับกุมตัวผู้ต้องหาในความผิดอาญาสำคัญและเป็นประจักษ์พยานยืนยันการกระทำผิดของผู้ต้องหา เช่นคดียาเสพติด ควรได้รับค่าตอบแทนก่อนผู้ที่จับกุมตัวผู้ต้องหาตามหมายจับซึ่งไม่ได้ยืนยันการกระทำผิดของผู้ต้องหา • ข้าราชการที่จะต้องเดินทางมาให้ปากคำควรได้รับค่าตอบแทนก่อนผู้ที่ปฏิบัติราชการอยู่ในสถานที่เดียวกับเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสอบสวน
2. ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน การปฏิบัติ 1. ระเบียบ ตร. ว่าด้วย กำหนดแนวทางปฏิบัติการคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2548 2. หนังสือ ตร. ที่ 0004.21/2592 ลง 19 พ.ค.2548 เรื่อง กำหนดแนวทางปฏิบัติในการคุ้มครองพยานในคดีอาญา
พยานที่จะได้รับความคุ้มครองพยานที่จะได้รับความคุ้มครอง • คดีอาญาที่มีอัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป • คดีอาญาที่มีอัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และผู้กระทำผิด/ผู้ถูกกล่าวหา/ผู้ต้องสงสัย เป็นผู้มีอิทธิพลเกี่ยวกับคดีอาญา 15 ประเภท หรือ • คดีอาญาที่เห็นว่าพยานอาจไม่ได้รับความปลอดภัย และ ผบช. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเห็นสมควรให้คุ้มครองความปลอดภัย
ผู้มีอำนาจอนุมัติการคุ้มครองผู้มีอำนาจอนุมัติการคุ้มครอง • ผบก. หรือผู้รักษาราชการแทน อนุมัติได้ 7 วัน • หากจำเป็นต้องคุ้มครองต่อ ให้อนุมัติต่อไปได้อีกไม่เกิน 14 วัน • หากจำเป็นต้องคุ้มครองต่อ ให้เสนอ ผบช. หรือผู้รักษาราชการแทน • ผบช. หรือผู้รักษาราชการแทน อนุมัติได้ไม่เกิน 60 วัน • หากเกินกว่านี้ให้ขอนุมัติ ผบ.ตร. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
อัตราค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานอัตราค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน • ค่าใช้จ่ายของพยาน สามี ภรรยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน 1.1 ค่าที่พัก - ไม่เกินห้องละ 800 บาท / วัน 1.2 ค่าอาหาร เครื่องดื่ม - คนละ 200 บาท/ วัน 1.3 ค่าเลี้ยงชีพที่สมควร ฯ - คนละ 200 บาท / วัน • เจ้าหน้าที่ตำรวจ 2.1 ค่าที่พัก - ไม่เกินห้องละ 800 บาท / วัน 2.2 ค่าดำเนินการฯ ระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 12 ชม. - คนละ 200 บาท/ วัน 2.3 ค่าใช้จ่ายในการปกปิดมิให้เปิดเผยข้อมูลที่ระบุตัวพยานได้ให้ เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง
ผู้มีอำนาจสั่งจ่ายค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานผู้มีอำนาจสั่งจ่ายค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน • หัวหน้าสถานีตำรวจ หรือหัวหน้าหน่วยงานที่พยานได้มาให้ข้อเท็จจริง เป็นผู้สั่งจ่ายค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานตามระเบียบ ยธ. การควบคุมและกำกับดูแลการคุ้มครองพยาน • ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำทะเบียการคุ้มครองพยานตามแบบที่กำหนดเก็บรักษาไว้ที่หน่วยงานระดับ บก. และรายงาน บช. • ให้ บช. ทำการตรวจสอบและประเมินผลการคุ้มครองพยานของหน่วยงานในสังกัดและรายงาน ตร. ทุกวันที่ 31 มี.ค. และ 31 ส.ค. ของทุกปี
ระเบียบ ยธ. ว่าด้วย การจ่ายค่าตอบแทนและค่าพาหนะเดินทางแก่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ที่เข้าร่วมในการร้องทุกข์ การสอบสวน การไต่สวนมูลฟ้อง และการพิจารณาตาม ป.วิอาญา มาตรา 12 ทวิ พ.ศ. 2549 • ผู้มีสิทธิขอเบิก - นักจิตวิทยาฯ ที่เข้าร่วมการสอบสวนฯ • อัตราการจ่าย ค่าตอบแทน - คนละ 500 บาท/ ครั้ง ไม่เกินคนละ 1 ครั้ง / วัน ค่าพาหนะ - ในอัตราที่จ่ายจริง คนละไม่เกิน 100 บาท / วัน • ผู้อนุมัติการจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ
ข้อควรระวัง ค่าตอบแทนพยาน / ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน ค่าใช้จ่ายในการชันสูตรพลิกศพ ค่าตอบแทน ค่าพาหนะเดินทางของนักจิตวิทยาฯ • เป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องขอเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในปีงบประมาณที่เกิดค่าใช้จ่าย หากเบิกจ่ายไม่ทันจะเป็นค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี ซึ่งมีวิธีการ/ขั้นตอนขอเบิกซับซ้อนมากกว่าการขอเบิกภายในปีงบประมาณ และผู้ที่ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปีอาจถูกพิจารณาข้อบกพร่องตามแนวทางที่ ตร. กำหนด
งบประมาณที่จะได้รับจัดสรรในปี 2553 รายการ ปี 2552 ปี 2553 เพิ่ม/ลด ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา 24,300,000 27,000,000 2,700,000 ค่าตอบแทนการชันสูตรพลิกศพ 596,470 596,200 - 270 ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน 1,000,000 382,400 - 617,600 ค่าตอบแทนพยาน/คุ้มครองพยาน 1,181,800 1,179,600 - 2,200 ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะ นักจิตวิทยาฯ 1,191,800 333,500 - 858,300 รวมทั้งสิ้น 28,270,070 29,491,700 1,221,630