560 likes | 1.3k Views
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal). การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Studies). อ.ยุทธนา พรหมณี. เป็นขั้นตอนก่อนการดำเนินการโครงการ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขโครงการก่อนตัดสินใจดำเนินการโครงการต่อไป. วัตถุประสงค์
E N D
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal) การศึกษาความเป็นไปได้(Feasibility Studies) อ.ยุทธนา พรหมณี
เป็นขั้นตอนก่อนการดำเนินการโครงการ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขโครงการก่อนตัดสินใจดำเนินการโครงการต่อไป
วัตถุประสงค์ 1.มีข้อมูลพื้นฐานต่อการตัดสินใจจะดำเนินการ โครงการหรือไม่ 2.ได้กรอบแนวทางในการวางแผนการประเมินโครงการ 3.ศึกษาจุดเด่น-จุดด้อยของโครงการ
การวิเคราะห์องค์ประกอบของโครงการการวิเคราะห์องค์ประกอบของโครงการ 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบภายนอก - การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อโครงการ ที่อาจส่งผลให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์2. การวิเคราะห์องค์ประกอบภายใน - การวิเคราะห์ความสมบูรณ์ของ โครงการ –ความเหมาะสม/ประโยชน์ของโครงการ – ความเป็นไปได้ของโครงการ
การวิเคราะห์โครงการโดยระบบ • การวิเคราะห์ปัจจัยเบื้องต้น (Input) • การวิเคราะห์กระบวนการ (Process) • การวิเคราะห์ผลผลิต (Product/Output) • การวิเคราะห์ผลกระทบ (Impact)
การวิเคราะห์โครงการโดยระบบ ปัจจัยเบื้องต้น (Input) ผลผลิต (Output) กระบวนการ (Process) • วิธีปฏิบัติงาน (Method) • คน (Men) • ผลกระทบ (Impact) การบริหารการเงิน/พัสดุ • เงิน (Money) • วัตถุ (Material) การบริหารงานบุคคล
ผลตอบแทนของการดำเนินโครงการผลตอบแทนของการดำเนินโครงการ • อัตราส่วนผลตอบแทน-ต้นทุน (Benefit-Cost Ratio) หรือจุดคุ้มทุน (Brake-Even Analysis) เป็นการพิจารณาจากอัตราผลตอบแทนของการลงทุนในการดำเนินการโครงการ • ประสิทธิผลของการดำเนินงาน (Cost-Effectiveness Analysis) เป็นการพิจารณาจากการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายที่นำมาเปรียบเทียบกับผลประโยชน์ที่ได้รับทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
การศึกษาและการคาดคะเนผลประโยชน์ อุปสรรค ข้อจำกัด และปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนินการโครงการ