810 likes | 1.14k Views
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ การประเมินภายนอกรอบที่2 และการรับรองมาตรฐาน. 24 มีนาคม 2551 ศ . ดร . กิตติชัย วัฒนานิกร กรรมการ กพอ . สมศ . กรรมการ คปภ . สกอ. กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย. รัฐบาล (ครม.) กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ ติดตามการปฏิบัติ จัดสรรงบประมาณ.
E N D
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ การประเมินภายนอกรอบที่2 และการรับรองมาตรฐาน 24 มีนาคม 2551 ศ.ดร.กิตติชัย วัฒนานิกร กรรมการ กพอ. สมศ. กรรมการ คปภ. สกอ.
กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ • สกอ. • ส่งเสริม/สนับสนุนการอุดมศึกษา • กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน และเกณฑ์การปฏิบัติ • จัดระบบประกันคุณภาพภายใน (IQA) • รับข้อเสนอแนะจาก สมศ. เพื่อปรับปรุงสถานศึกษาตามกำหนด สกศ. ต้นสังกัด สมศ. ก.พ.ร สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ง ของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)
กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ • ก.พ.ร • จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ติดตามประเมินผลด้านประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์กร • เสนอผลการประเมิน และสิ่งจูงใจต่อ ครม. สกศ. ต้นสังกัด สมศ. สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)
กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ • สมศ. • ประเมินผลการจัดการศึกษาของมหาฯ(EQA) • รายงานการประเมินต่อรัฐบาล หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน • รับรองมาตรฐานคุณภาพ/เสนอแนะการปรับปรุงสถานศึกษาต่อต้นสังกัด สกศ. ต้นสังกัด ก.พ.ร สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)
กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ • ต้นสังกัด • จัดระบบประกันคุณภาพภายใน (IQA) • รับข้อเสนอแนะจาก สมศ. เพื่อปรับปรุงสถานศึกษาตามกำหนด สกศ. สมศ. ก.พ.ร สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)
ความสัมพันธ์ระหว่าง การประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน การประเมินภายนอก(ผลการจัดการศึกษา) รายงาน ประจำปีส่ง สกอ. ตรวจเยี่ยมโดย สมศ. การปฏิบัติงาน ของสถาบัน การประเมินตน เองของสถาบัน การติดตามผล รายงานผล การประเมิน ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ
การส่งเสริมระหว่างการประกันคุณภาพของ สกอ.และ สมศ. • ใช้รายงานการประเมิน(SAR)แต่ละปีของ สกอ.เพื่อรับการประเมินของ สมศ. • ระบบข้อมูล และเกณฑ์มาตรฐานเป็นแบบเดียวกันทั้ง สกอ. และสมศ. • สถาบันและต้นสังกัดมีผลการประเมินครบทุกด้านทุกปี ทั้ง Input, Process, Out put/Out comeทำให้ • สามารถนำไปสู่การพัฒนา/ปรับปรุงก่อน สมศ. เข้าประเมิน • สามารถตรวจสอบการบรรลุเป้าหมายและพัฒนาการได้ต่อเนื่องทุกปี และสอดคล้องกับการประเมินของ สมศ.
สรุปประเภทตัวบ่งชี้ 44 ตัวของ สกอ.และความสัมพันธ์กับตัวบ่งชี้ ของ สมศ. ประเภทที่ 1 ตัวบ่งชี้เฉพาะของ สกอ. (14 ตัว) ประเภทที่ 2 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์เดียวกันระหว่างสกอ. และสมศ. (14 ตัว) ประเภทที่ 3 ตัวบ่งชี้ที่คล้ายกันแต่สามารถประเมินได้ทั้งตามเกณฑ์สกอ. สมศ. (9 ตัว) ประเภทที่ 4 ตัวบ่งชี้ที่สามารถใช้ข้อมูลพื้นฐานร่วมกันระหว่าง สกอ. สมศ. (ที่เหลือทั้งหมด)
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ตัวบ่งชี้ของสกอ. ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ควรเขียน SAR เพื่อตอบ 5.3 ของสมศ.ด้วย ควรเพิ่มตัวบ่งชี้เหล่านี้ใน SAR 2.1.1 (1.2 สมศ.) 2.1.2 (1.7 สมศ.) 2.1.3 (1.8 สมศ.) 2.1.4 (6.1 สมศ.)
ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ. ตัวบ่งชี้ที่ 6.6 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ควรเขียนเพื่อตอบ 6.6 ของสมศ.ด้วยและเพิ่ม ตัวบ่งชี้ 2.2.1 (6.7 สมศ.) ตัวบ่งชี้ที่ 6.7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ตัวบ่งชี้ที่ 6.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.7
ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ. ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ตัวบ่งชี้ที่ 2.10 ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.11 ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.12 ควรเพิ่มตัวบ่งชี้ 2.12.1 (1.5 สมศ.) 2.12.2 (1.6 สมศ.) ตัวบ่งชี้ที่ 1.6
ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ. ตัวบ่งชี้ที่ 2.13 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ที่ 6.8 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ตัวบ่งชี้ที่ 4.5 ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ตัวบ่งชี้ที่ 3.7 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ตัวบ่งชี้ที่ 5.5 ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 5.9 ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ตัวบ่งชี้ที่ 5.11 ตัวบ่งชี้ที่ 5.5 ตัวบ่งชี้ที่ 7.5 ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 ตัวบ่งชี้ที่ 7.7 ตัวบ่งชี้ที่ 7.8 ตัวบ่งชี้ที่ 7.9 ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ตัวบ่งชี้ที่ 3.6 ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ตัวบ่งชี้ที่ 5.6 ตัวบ่งชี้ที่ 5.7 ตัวบ่งชี้ที่ 5.8 ตัวบ่งชี้ที่ 5.10 ตัวบ่งชี้ที่ 6.9 ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ.
ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ. ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ตัวบ่งชี้ที่ 9.3
การประเมินรอบ 2 ของสมศ.
ความแตกต่างสำคัญของการประเมินรอบ2 ของสมศ. เทียบกับรอบแรก • ประเมินสถาบันและกลุ่มสาขา • ประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑ์(ได้มาตรฐาน มีพัฒนาการ และบรรลุเป้าหมาย) • ประเมินตามจุดเน้นของสถาบัน(มีตัวบ่งชี้ร่วมและเฉพาะ)
การแบ่งกลุ่มสาขาวิชา ใช้แนวทางตามแบบของระบบการรับเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 1.กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (วิทยาศาสตร์สุขภาพ, สุขศึกษาและพลศึกษา, วิทยาศาสตร์การกีฬา) 2.กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ (คณะวิทยาศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีสารสนเทศ) 3.กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ 4.กลุ่มสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5.กลุ่มสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ (คณะเกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร วนศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร)
การแบ่งกลุ่มสาขาวิชา 6.กลุ่มสาขาวิชาบริหาร (พาณิชยศาสตร์ การบัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว และโรงแรม เศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ) 7.กลุ่มสาขาวิชาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ (การสอน) 8.กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรม วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์(คณะศิลปกรรมศาสตร์ วิจิตรศิลป์ มัณฑศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์) 9.กลุ่มสาขาวิชามนุษย์และสังคมศาสตร์(คณะนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ อักษรศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ มนุษยศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เป็นต้น) 10.กลุ่มสาขาวิชาสหวิทยาการ คือสาขาวิชาที่มีหลักสูตรแบบสหวิทยาการและสาขาวิชาอื่น ๆ นอกเหนือจาก 9 กลุ่มสาขาวิชาข้างต้น
มาตรฐานคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาของสมศ.รอบที่2มาตรฐานคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาของสมศ.รอบที่2
นิยามของจุดเน้นแต่ละกลุ่มสถาบันนิยามของจุดเน้นแต่ละกลุ่มสถาบัน 1. กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย เป็นกลุ่มสถาบันที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยเน้นด้านการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา และวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการและเผยแพร่ความรู้ไปสู่ผู้ใช้ทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยมุ่งสู่ความทันสมัย และสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล 2. กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม เป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่ ผลิตบัณฑิตระดับสูงในบางสาขาวิชาและเน้นการบริการวิชาการ/วิชาชีพแก่สังคม
นิยามของแต่ละกลุ่มสถาบันนิยามของแต่ละกลุ่มสถาบัน 3. กลุ่มสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม เป็นกลุ่มสถาบันที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่ ผลิตบัณฑิตระดับสูงในบางสาขาวิชาโดยการประยุกต์ความรู้ เพื่อสร้างและพัฒนามาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการเผยแพร่ความรู้ ภูมิปัญญาไทยสู่สากล 4. กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิต เป็นกลุ่มสถาบันที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยมุ่งเน้นการสอนในระดับปริญญาตรี ประยุกต์ความรู้เพื่อใช้ในการผลิตบัณฑิต เป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตและพัฒนาบัณฑิตในด้านวิชาการและวิชาชีพต่างๆ
ตัวอย่างการกำหนดน้ำหนัก(ตามมติสภาฯ)ตัวอย่างการกำหนดน้ำหนัก(ตามมติสภาฯ)
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตเป็นผู้เรืองปัญญามีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีทักษะและภูมิปัญญาในงานอาชีพในฐานะนักวิชาชีพชั้นสูง มีทักษะวิจัยในฐานะนักวิชาการชั้นสูง มีจิตสำนึกและภูมิธรรมในฐานะพลเมืองดีของสังคมไทยและสังคมโลก
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและการประกอบอาชีพอิสระ ภายใน๑ปี (๘๐,๘๐,๘๐,๘๐) ๑.๒ ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา (๘๐,๘๐,๘๐,๘๐)
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ ๑.๓ ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์ (๑๐๐,๑๐๐,๑๐๐,๑๐๐) ระวัง! เฉพาะป.ตรี ๑.๔ ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการและผู้ใช้บัณฑิต (๓.๕ จาก ๕ แต้มขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! เฉพาะป.ตรี และกรณีคะแนนเต็ม4ให้ใช้สูตรพัฒนาการ
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ๑.๕ จำนวนนักศึกษา หรือศิษย์เก่าที่จบการศึกษาไม่เกิน ๓ ปี ที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในรอบ ๓ ปี ที่ผ่านมา (๒, ๑, ๑, ๑) ระวัง! ความหมายของเกณฑ์ และนับซ้ำ ๑.๖ จำนวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (๙, ๓, ๓, ๓) ระวัง! นับซ้ำ
๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๑.๗ ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด (๖๐, ๔๐, ๓๐, ๓๐) ระวัง! ไม่นับซ้ำ ๑.๘ ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด (๗๕, ๖๐, ๖๐, ๖๐) ระวัง! ไม่นับซ้ำ
๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เป็นงานนวัตกรรมที่นำไปสู่การสร้างและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่เชี่ยวชาญสูง การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ซึ่งเป็นการขยายพรมแดนของความรู้ และทรัพย์สินทางปัญญาที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริง เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ ประสิทธิภาพ และขีดความสามารถของคนไทย รวมทั้งการพัฒนาสู่สังคมเรียนรู้ สังคมความรู้ และสังคมแห่งภูมิปัญญา อันก่อให้เกิดวัฒนธรรมการใช้ความรู้ในการกำหนดทิศทางและการพัฒนา ตลอดจนการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ
๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๓๐, ๓๐, ๓๐, ๓๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และนับชิ้นงาน(ไม่นับซ้ำและไม่รวมตำรา) ๒.๒ เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๓๐๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๕๐๐๐) ระวัง! ปีการศึกษา งบอนุมัติ และวิธีนับอาจารย์
๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๒.๓ เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๕๐๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๐๐๐๐, ๑๐๐๐๐) ระวัง! ปีการศึกษา และวิธีนับอาจารย์
๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๒.๔ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๕๐, ๔๕, ๔๐, ๔๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และไม่นับซ้ำ ๒.๕ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๔๐, ๒๐, ๒๐, ๒๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และไม่นับซ้ำ
๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๒.๖ ร้อยละของจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ (เช่นISI, ERIC) ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๒๐) ระวัง! ความหมาย วิธีนับอาจารย์ และไม่นับซ้ำ ๒.๗ จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัติต่อจำนวนอาจารย์ประจำในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (๓)
๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ การให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่เป็นประโยชน์ เป็นที่พึ่งและเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการและวิชาชีพ เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมสอดคล้อง เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ ตลอดจนการส่งเสริมบทบาททางวิชาการและวิชาชีพของสถาบันการศึกษาในการพัฒนาสังคมเรียนรู้และสังคมความรู้ โดยคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้ ๓.๑ ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการ และพัฒนา/และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ(๓๐, ๔๐, ๔๐, ๓๐) ระวัง! ความหมาย วิธีนับอาจารย์ ๓.๒ ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติและนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ(๒๕, ๒๕, ๒๕, ๒๕) ระวัง! วิธีนับอาจารย์และไม่นับซ้ำ
๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้ ๓.๓ มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและวิจัย (ระดับ ๓, ๔, ๓, ๓ ขึ้นไป) ๓.๔ ค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบันในการให้บริการวิชาการเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจำ (๗๕๐๐, ๑๐๐๐๐, ๗๕๐๐, ๗๕๐๐) ระวัง! ปีการศึกษาและวิธีนับอาจารย์
๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๓.๕ จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ(๔) ระวัง! ต้องมีเอกสาร ๓.๖ รายรับของสถาบันในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบันต่ออาจารย์ประจำ (๒๐๐๐๐) ระวัง! ปีการศึกษาและวิธีนับอาจารย์
๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๓.๗ ระดับความสำเร็จในการให้บริการทางวิชาการตาม พันธกิจของสถาบัน (ระดับ๔ ขึ้นไป)
๔. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การอนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา เผยแพร่เอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นมรดกไทย และการบูรณาการในการผลิตบัณฑิต การวิจัย และการบริการวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการสร้างสรรค์และส่งเสริมภูมิปัญญาไทยให้เป็นรากฐานของการพัฒนาองค์ความรู้ที่สามารถพัฒนาสู่สากล
๔. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ ๔.๑ ร้อยละของจำนวนกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา (๒,๒,๓,๒) ระวัง!มีการปรับเกณฑ์ และวิธีนับ นศ. ๔.๒ ร้อยละค่าใช้จ่าย และมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่องบดำเนินการ (๑%, ๑%, ๒%, ๑%) ระวัง! ปีการศึกษา
๔. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๔.๓ มีผลงาน หรือชิ้นงานการพัฒนาองค์ความรู้และสร้างมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรม (๓) ๔.๔ ประสิทธิผลในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะ และวัฒนธรรม (ระดับ ๔)
๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร การบริหารและการจัดการศึกษาที่ประชาคมในและนอกสถาบันและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี เน้นการกระจายอำนาจ กำกับด้วย นโยบาย การวางแผน ภาวะผู้นำของผู้บริหาร การพัฒนาบุคลากร ที่เป็นระบบและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง การนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอน การวิจัย และการบริหาร โดยมุ่งสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการรวมทั้งการสร้างเสถียรภาพทางการเงิน การใช้เงินอย่างคุ้มค่า มีอิสระคล่องตัวโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้
๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ตัวบ่งชี้ ๕.๑ สภาสถาบัน และผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจและสามารถสะท้อนถึงนโยบาย วัตถุประสงค์และนำไปสู่เป้าหมายของการบริหารจัดการ การบริหารแบบมีส่วนร่วมเน้นการกระจายอำนาจ โปร่งใส และตรวจสอบได้ มีความสามารถในการผลักดันสถาบันให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล (ไม่ต่ำกว่า ๕ ใน ๗ ข้อ ทุกกลุ่มสถาบัน)
๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ตัวบ่งชี้ ๕.๒ มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้ โดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก (ระดับ ๔ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๕.๓ มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ (ระดับ ๔ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๕.๔ การใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกร่วมกัน (ระดับ ๔ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน)
๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ๕.๕ ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและการจัดการ (ระดับ ๓ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๕.๖ สินทรัพย์ถาวรต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) (๑๐๐,๐๐๐ บาททุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! ปีงบประมาณและวิธีนับ นศ. ๕.๗ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) (±๔.๙๙%ทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! เกณฑ์ และวิธีคิด ตลอดจนใช้ปีงบประมาณ และระวังวิธีนับนศ. ๕.๘ ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่องบดำเนินการ (๑๐-๑๕% ของงบดำเนินการทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! ปีงบประมาณ
๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ๕.๙ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ(๖๐,๕๐,๕๐,๕๐) ระวัง!ไม่นับซ้ำ ๕.๑๐ งบประมาณสำหรับการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ(๑๕๐๐๐,๑๐๐๐๐,๑๐๐๐๐,๑๐๐๐๐) ระวัง!ปีงบประมาณและวิธีนับอาจารย์ ๕.๑๑ ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ (๘๐,๗๐,๗๐,๗๐) ระวัง! วิธีนับบุคลากร และไม่นับซ้ำ
๖. มาตรฐานด้านการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน กระบวนการพัฒนาและบริหารหลักสูตรให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสังคม มีการจัดการเรียนการสอนที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความต้องการ/ความสนใจของผู้เรียน โดยใช้เทคนิคการสอนและอุปกรณ์การสอนที่หลากหลาย มีการประเมินผลการเรียนการสอนตามสภาพจริง และมีการใช้ประโยชน์ผลการประเมินในการพัฒนาผู้เรียน การระดมทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก รวมทั้งความร่วมมือจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันอุดมศึกษา ในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร และกิจกรรมการศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด