200 likes | 585 Views
Road Map การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า. แผนยุทธศาสตร์การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า ให้หมดไปในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ศ.ศ. 2020 ). แผนยุทธศาสตร์ การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า ให้หมดไปภายใน พ.ศ.๒๕๖๓ ( ค.ศ. 2020 ). ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การบริหารจัดการและบูรณาการการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า
E N D
Road Map การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
แผนยุทธศาสตร์การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (ศ.ศ.2020)
แผนยุทธศาสตร์ การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปภายใน พ.ศ.๒๕๖๓ ( ค.ศ.2020 ) ยุทธศาสตร์ที่๑การบริหารจัดการและบูรณาการการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกัน ควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในระดับท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในคนและในสัตว์ ยุทธศาสตร์ที่ ๔การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนและประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๕ เสริมสร้างความรู้ ทักษะ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกัน ควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า
Road Map การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
Road Map การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า กรมปศุสัตว์ ปี เป้า ประ- สงค์ การขับเคลื่อน: กำหนดเป็นตัวชี้วัดปศุสัตว์จังหวัดทุกจังหวัด ตัว ชี้- วัด ระดับพื้นที่ปลอดโรคของอปท. (เทศบาล/อบต.) ร้อยละของจน.อปท.ที่สร้างพื้นที่ปลอดโรค ผล ผลิต ปี 2557ทุกจังหวัด อย่างน้อยเป็นพื้นที่ระดับ B ปี 2560ทุกจังหวัด เป็นพื้นที่ระดับ A ปี 2563ทุกจังหวัด ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
การขับเคลื่อน 1) พบสัตว์สงสัยให้ควบคุมโรคทันที 2) กักสัตว์ที่กัดคนดูอาการ 10 วัน 3) ทำทะเบียนได้ 80% 4) ฉีดวัคซีนได้ 80% 5) ทำหมัน การขับเคลื่อน 1) พบสัตว์สงสัยให้ควบคุมโรคทันที 2) กักสัตว์ที่กัดคนดูอาการ 10 วัน 3) ทำทะเบียนได้ 100% 4) ฉีดวัคซีนได้ 100% 5) ทำหมัน การขับเคลื่อน 1) สุ่มเก็บตัวอย่างตรวจ0.01% 2) ทำทะเบียนได้100 % 3) ฉีดวัคซีนได้ 100% 4) ทำหมัน 5) ไม่มีสุนัขจรจัดในที่สาธารณะ 6) มีการเฝ้าระวังการเคลื่อนย้าย สุนัขเข้าออกในพื้นที่ ปี 61-63 ทุกจังหวัด ปลอด โรคพิษสุนัขบ้า ปี58 ปี59 ปี60 ปี61 ปี62 ปี63 ปี55 ปี56 ปี57 ปี55 ปี56 40%อปท3,110 แห่ง 80%อปท6,220 แห่ง 40%อปท3,110 แห่ง 80%อปท6,220 แห่ง 100%อปท 7,775 แห่ง 40%อปท3,110 แห่ง 80%อปท6,220 แห่ง 100%อปท 7,775 แห่ง 40%อปท3,110 แห่ง 80%อปท6,220 แห่ง 100%อปท 7,775 แห่ง B A RFZ
บทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในระดับท้องถิ่นบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในระดับท้องถิ่น • ป้องกันควบคุมโรคในท้องถิ่นที่รับผิดชอบอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง • มีเครือข่ายป้องกันควบคุมโรคครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบและพื้นที่ติดต่อกัน • ออกข้อบังคับหรือเทศบัญญัติและบังคับใช้อย่างจริงจัง • สามารถดำเนินการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ • สามารถบูรณาการทำงานร่วมกับสาธารณสุขและปศุสัตว์ในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า • ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ข้อมูลข่าวสารการระบาดของโรค
- ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อบังคับ หน้าที่ความรับชอบ และจิตสำนึกต่อส่วนรวม - พัฒนาระบบฐานข้อมูลแต่ละชุมชน เช่น จำนวนสุนัข/แมว จำนวนการฉีดวัคซีน - จัดหา สนับสนุนวัคซีน เวชภัณฑ์ เพื่อใช้ในการควบคุม ป้องกันโรคในพื้นที่รับผิดชอบ
โครงการประกวดรางวัลโรคพิษสุนัขบ้า (MoPH-MoAC Rabies Award) วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดการประสานงานในการดำเนินงานที่ดีต่อกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
มี 2 ระดับ คือ ระดับเทศบาล และ ระดับ อบต. * รางวัลชนะเลิศ จำนวน 1 รางวัล ๆ 50,000 บาท พร้อมโล่รางวัลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข* รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จำนวน 1 รางวัล ๆ 30,000 บาท พร้อมโล่รางวัลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข* รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 จำนวน 1 รางวัล ๆ 20,000 บาท พร้อมโล่รางวัลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข* รางวัลชมเชย จำนวน 6 รางวัล ๆ 5,000 บาท พร้อมโล่รางวัลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข *** หน่วยงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ ปศุสัตว์จังหวัดในพื้นที่จะได้รับโล่เชิดชูเกียรติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมินผลงาน • การบูรณาการการทำงานร่วมกันของหน่วยงานปศุสัตว์ สาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนและประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม • การจัดระดับพื้นที่ตามหลักเกณฑ์การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าและเตรียมการเพื่อเลื่อนระดับ • มีการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอย่างต่อเนื่อง(ระยะเวลา ๓ ปี)โดยมีแผนปฏิบัติการกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า และมีผลสำเร็จในการปฏิบัติงานตามแผนงานร่วมกันของหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง • มีผลงานดีเด่นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า
ปี 2555 ระดับเทศบาลที่ส่งเข้าประกวด 1. เทศบาลตำบลบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีระดับองค์การบริหารส่วนตำบล 1. องค์การบริหารส่วนตำบลพลวงทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี 2. องค์การบริหารส่วนตำบลทัพราช อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว
ปี 2555 ผลการคัดเลือกจากคณะกรรมการ เพื่อเข้าร่วมประกวดระดับประเทศระดับเทศบาล เทศบาลตำบลบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีระดับองค์การบริหารส่วนตำบล ไม่มีองค์การรบริหารส่วนตำบลที่ผ่านการคัดเลือก