90 likes | 160 Views
Networking. Devices. 4. องค์ประกอบเครือข่าย และประเภทอุปกรณ์ ประเภทเครือข่าย อุปกรณ์เลเยอร์ 1 อุปกรณ์เลเยอร์ 2 อุปกรณ์เลเยอร์ 3. 3-1. 3-2. แบ่งอุปกรณ์เป็น 2 ประเภท ตามบทบาทบนเครือข่าย
E N D
Networking Devices 4
องค์ประกอบเครือข่าย และประเภทอุปกรณ์ • ประเภทเครือข่าย • อุปกรณ์เลเยอร์1 • อุปกรณ์เลเยอร์2 • อุปกรณ์เลเยอร์3 3-1
แบ่งอุปกรณ์เป็น 2 ประเภท ตามบทบาทบนเครือข่าย • End Device: อุปกรณ์ที่อยู่ปลายทางของเครือข่าย สามารถสื่อสารระหว่างเครือข่ายได้ (L3 ขึ้นไป) เช่น เครื่องโฮส หรือเราท์เตอร์ • Intermediate:อุปกรณ์ที่ช่วยข้อมูลระหว่าง End Device ในเครือข่ายเดียวกัน มักเป็นอุปกรณ์ L2 (ควบคุมการสื่อสารระหว่าง End Device) เช่น สวิตช์ • รูปแบบการเชื่อมต่อโดยทั่วไปในเครือข่าย จึงเป็น End Device > Intermediate > End Device 3-3 Router Switch NIC บนเครื่องโฮส ขอบของ LAN (Broadcast Domain)
นิยาม • LAN: เครือข่ายส่วนตัว • WAN: เครือข่ายสาธารณะ • ลักษณะสื่อ (L1) • LAN: ใกล้ และเร็ว • WAN: ไกล และช้า • โปรโตคอลถอดรหัสสัญญาณ (L2) • LAN: Ethernet • WAN: HDLC, PPP, Frame Relay LAN WAN เนื่องจาก L3 เป็นการสื่อสารระหว่างเครือข่าย จึงถือว่า LAN และ WAN ไม่มีความแตกต่างกันตั้งแต่ L3 ขึ้นไป 3-4 1 วง LAN = 1 Broadcast Domain
เกี่ยวข้องกับสัญญาณบนสื่อเท่านั้น ไม่ได้ถอดรหัสสัญญาณขึ้นมาอ่าน • ได้แก่อุปกรณ์ขยายสัญญาณ เช่น Repeater และ Hub • เนื่องจากตามมาตรฐานอีเธอร์เน็ต ใช้สื่อร่วมกันกับทุกอุปกรณ์ในเครือข่าย (Mutiple Access) การใช้อุปกรณ์เหล่านี้จึงทำให้โอกาสสัญญาณชนกัน (Collision) มากขึ้น • ปัจจุบันจึงนิยมใช้ Bridge/Switch แทน เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ L2 ที่ถอดรหัสสัญญาณขึ้นมาอ่านก่อน จึงสามารถแบ่งส่วนของเครือข่ายที่มีโอกาสสัญญาณชนกันได้บนแต่ละอินเตอร์เฟส (Collision Domain) 3-5
Des MAC xx Pls send via fa0/10 Des MAC xx Which Int? Fa 0/10 CAM ASIC • อุปกรณ์ที่ควบคุมการสื่อสาร “อุปกรณ์ ต่อ อุปกรณ์” (ระหว่าง End Device) • ถอดรหัสสัญญาณขึ้นมาอ่านเฟรมข้อมูล เพื่อดูที่อยู่กายภาพปลายทางเทียบกับฐานข้อมูลของตนเอง แล้วจึงเลือกส่งเฟรมออกเฉพาะอินเตอร์เฟสที่ถูกต้อง • ได้แก่ สวิตช์ (LAN Switch, Frame Relay Switch, ATM Switch, etc.) 3-6
ควบคุมการสื่อสาร “ระหว่างเครือข่าย” (ซับเน็ต/VLAN/LAN/WAN) • ถอดรหัส L3 Header ขึ้นมาอ่านที่อยู่ลอจิคัล (IP Address) ปลายทาง เทียบกับฐานข้อมูลเส้นทางที่อยู่ในอุปกรณ์ เพื่อเลือก “เครือข่าย” ที่จะส่งแพ๊กเก็ตข้อมูลออกไป • หน้าที่ของเราท์เตอร์ กับการรับส่งแพ๊กเก็ต จึงแบ่งเป็น 2 ส่วน • 1. เลือกเส้นทางที่ดีที่สุดที่จะไปยังเครือข่ายปลายทาง (Path Selection; L3) • 2. ดูข้อมูล ARP บนอินเตอร์เฟสที่เลือกไว้ในข้อ 1 เพื่อนำ MAC มาเขียน Frame Header ใหม่ก่อนฟอร์เวิร์ดเฟรมออกไป (Switching; L2) • ได้แก่ เราท์เตอร์ และสวิตช์ที่ทำงาน L3 3-7
Collision Domain • คือ “ส่วน” ของเครือข่าย ที่สัญญาณข้อมูล (L1) มีโอกาสชนกันได้ • ถูกแบ่งได้จากอินเตอร์เฟสของอุปกรณ์ L2 ขึ้นไป • Broadcast Domain • คือ “เครือข่าย” ที่เฟรมข้อมูลแบบ Broadcast ส่งกระจายไปทั่วถึง • ถูกแบ่งได้จากอินเตอร์เฟสของอุปกรณ์ L3 ขึ้นไป หรือจากฟีเจอร์บนอุปกรณ์ L2 เอง (เช่น สวิตช์แบ่ง VLAN) Broadcast Domain = LAN = VLAN = Subnet = Network ตรงที่การจำกัดบริเวณด้วย Network ID เดียวกัน 3-8