1 / 46

Creative Accounting

Creative Accounting. http://acct0310.wordpress.com. ความหมาย. กระบวนการปรับแต่งตัวเลขทางบัญชีโดยอาศัยข้อได้เปรียบจากช่องโหว่ที่มีอยู่ในกฎเกณฑ์ทางบัญชีและทางเลือกต่าง ๆ ในการวัดมูลค่าและเปิดเผยข้อมูล เพื่อแปรเปลี่ยนงบการเงินจากสิ่งที่ควรจะเป็นให้เป็นไปตามสิ่งที่ผู้จัดทำงบการเงินปรารถนาที่จะแสดง.

benjamin
Download Presentation

Creative Accounting

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Creative Accounting http://acct0310.wordpress.com

  2. ความหมาย • กระบวนการปรับแต่งตัวเลขทางบัญชีโดยอาศัยข้อได้เปรียบจากช่องโหว่ที่มีอยู่ในกฎเกณฑ์ทางบัญชีและทางเลือกต่าง ๆ ในการวัดมูลค่าและเปิดเผยข้อมูล เพื่อแปรเปลี่ยนงบการเงินจากสิ่งที่ควรจะเป็นให้เป็นไปตามสิ่งที่ผู้จัดทำงบการเงินปรารถนาที่จะแสดง

  3. พื้นฐานของ Creative Accounting • The Bonus Plan Hypothesis • The Debt Covenant Hypothesis • The Political Cost Hypothesis

  4. Creative Accounting • Aggressive or Innovative accounting • Earnings management • Income smoothing • Big bath • Cookie jar reserve • Fraudulent financial reporting

  5. Aggressive Accounting • วิธีการหรือขั้นตอนการรับรู้รายได้หรือลดค่าใช้จ่ายภายในรอบระยะเวลาบัญชีโดยกำหนดวิธีการตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนด เพื่อแสดงผลกำไรสูงสุด

  6. ACCOUNTING POLICY Revenue recognition Depreciation choice Inventory valuation (assume prices rising) Goodwill amortization ConservativeAggressive After sale, risks At sale, though passed to buyer. risk remains. Accelerated over Straight line over shorter period. longer period. LIFO FIFO Shorter period. Over 40 years. Aggressive Accounting

  7. ACCOUNTING POLICY Estimate of warranty Estimate of bad debts Advertising costs Contingent loss ConservativeAggressive High estimate. Low estimate. High estimate. Low estimate. Expense. Amortize. Capitalize & Accrue loss. Note to accounts Aggressive Accounting

  8. กรณีศึกษา บริษัท ไดโดมอน กรุ๊ป • บริษัทฯ รับรู้รายได้จากเงินสนับสนุนการค้า จากการทำสัญญากับบริษัทผู้จำหน่ายเครื่องดื่มจำนวนเงิน 30 ล้านบาททันทีทั้งจำนวนในปี 2545 • บริษัทมีภาระผูกพันที่จะต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญาเป็นระยะเวลา 5 ปี • แนวปฏิบัติดังกล่าวไม่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และทำให้กำไรสุทธิสูงไป 21 ล้านบาท (67.61 เปอร์เซ็นต์ของกำไรสุทธิ)

  9. กรณีศึกษา บริษัท ไดโดมอน กรุ๊ป • ผลกระทบต่อการวิเคราะห์งบการเงิน • กำไรสูงเกินไป 21 ล้าน (ในปี 2545) • อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำกำไร • หนี้สินต่ำเกินไป 21 ล้าน จากการไม่ได้ตั้งรายได้รับล่วงหน้า (ในปี 2545) • โครงสร้างทางการเงิน (แม้จะเป็นหนี้สินที่ไม่ต้องชำระคืนเป็นเงินสดแต่บริษัทมีภาระผูกพันในการดำเนินงาน)

  10. กรณีศึกษา บริษัท รอยเนท • บริษัทฯ รับรู้รายได้จากกการฝากขายอินเตอร์เน็ตการ์ดไม่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ทำให้งบการเงินสำหรับไตรมาสที่ 1 และ 2 ปี 2545 ของบริษัทฯ ที่มีการเปิดเผยในปัจจุบันยังเป็นงบการเงินที่ไม่ถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป • รายการฝากขายยังไม่ควรถือเป็นรายได้จนกว่าความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินค้าจะโอนไปให้แก่ผู้ซื้อ

  11. กรณีศึกษา บริษัท รอยเนท • แนวปฏิบัติดังกล่าวทำให้รอยเนทสามารถสร้างตัวเลขรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีได้ด้วยการนำสินค้าไปฝากขายแม้ว่าความเสี่ยงและผลประโยชน์จากสินค้ายังตกอยู่กับรอยเน็ต • ผลกระทบต่องบการเงิน • สินค้าคงเหลือต่ำ – ประสิทธิภาพในการดำเนินงานดูสูงขึ้น • รายได้ไม่ได้สะท้อนให้เห็นกิจกรรมการขายที่เกิดขึ้นจริง

  12. Earnings Management • Income smoothing • การรักษาระดับกำไรในแต่ละปีให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมตามความคาดหมายของตลาดหรือผู้ถือหุ้น

  13. Income smoothing • ฝ่ายบริหารจะใช้ข้อสมมติที่ระมัดระวังเกี่ยวกับการประมาณหนี้สงสัยจะสูญ ประมาณการหนี้สิน หรืออายุการใช้งานของสินทรัพย์ถาวรและมูลค่าซาก เพื่อทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น และปรับแต่งกำไรให้ลดลง • ฝ่ายบริหารยังอาจใช้วิธีการรับรู้รายได้ที่ระมัดระวังยิ่งขึ้นเพื่อชะลอการรับรู้รายได้และทำให้กำไรของงวดปัจจุบันลดลง

  14. Income smoothing • กิจการจะสามารถรักษากำไรไปใช้ต่อในปีที่ตกต่ำ ซึ่งเป็นปีที่คาดว่าผลประกอบการจะต่ำกว่าเป้าของอัตราการเติบโต • ในปีที่ตกต่ำ ฝ่ายบริหารอาจลดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหรือประมาณการหนี้สินลง หรือยืดอายุการใช้งานของสินทรัพย์หรือเพิ่มมูลค่าซาก เพื่อทำให้ค่าใช้จ่ายลดลงและกำไรสูงขึ้น

  15. Income Smoothing • แบ่งออกเป็น 3 ประเภท • Real Income Smoothing • Artificial Income Smoothing • Classificatory Income Smoothing

  16. Real Income Smoothing • การเกลี่ยกำไรของกิจการโดยการก่อให้เกิดรายการหรือชะลอไม่ให้เกิดรายการนั้นๆ ขึ้น โดยที่ผู้บริหารได้มีการพิจารณามาก่อนหน้าถึงผลกระทบของรายการนั้นๆ ที่มีต่อกระแสเงินสดและผลการดำเนินงานของกิจการ

  17. Real Income Smoothing • Real smoothing จึงมีตั้งแต่การกำหนด • ช่วงเวลา (Timing) • จำนวนเงิน (Amount) ไปจนถึง • การกำหนดวัตถุประสงค์ (Intent) ของรายการที่เข้าไปทำ

  18. Real Income Smoothing • รูปแบบของ Real income smoothing แบ่งออกได้ดังนี้ • การเกลี่ยรายการด้วยการเร่งหรือชลอรายการทางด้านค่าขาย (Sales related) • การเกลี่ยรายการด้วยการเร่งหรือชลอรายการทางด้านค่าใช้จ่าย (Expense related)

  19. Real Income Smoothing ปีที่ 1 ปีที่ 2 จำนวนเงิน กำไร รายได้ เวลา กระแสเงินสด เงินสด

  20. Artificial Income Smoothing • การเกลี่ยกำไรโดยการรับเอาวิธีปฏิบัติทางบัญชีที่จะช่วยให้กิจการชะลอการรับรู้รายจ่าย และ/หรือ ชะลอการรับรู้รายได้จากงวดบัญชีหนึ่งไปยังอีกงวดบัญชีหนึ่งมาใช้ • การเกลี่ยกำไรในลักษณะดังกล่าวไม่ได้ส่งผลกระทบใดๆ ต่อกระแสเงินสด

  21. Artificial Income Smoothing • แบ่งออกได้ดังนี้ • การเกลี่ยรายการทางด้านค่าขาย (Sales related) • การเกลี่ยรายการทางด้านค่าใช้จ่าย (Expense related) • โดยที่รายได้ตลอดอายุของธุรกิจเท่าเดิม และการเกลี่ยรายได้ไม่ส่งผลกระทบต่อกระแสเงินสดแต่อย่างใด

  22. Artificial Income Smoothing ปีที่ 1 ปีที่ 2 จำนวนเงิน กำไร รายได้ เวลา กระแสเงินสด เงินสด

  23. Classificatory Income Smoothing • การเกลี่ยรายการบางรายการในงบกำไรขาดทุนโดยการตัดสินใจของผู้บริหารว่าจะจัดจำแนกรายการนั้นๆ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของการคำนวณกำไรจากการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (Income from continuing operations) หรือเป็นส่วนหนึ่งของรายการพิเศษ (Extraordinary income)

  24. Classificatory Income Smoothing ปีที่ 1 ปีที่ 2 จำนวนเงิน กำไร รายได้ เวลา กระแสเงินสด เงินสด

  25. Earnings Management • Big Bath • การปรับลดมูลค่าสินทรัพย์ลงทั้งจำนวน (Excessive Writedown) หรือการรับรู้ผลขาดทุนในปัจจุบันโดยบันทึกหนี้สินขึ้น เพื่อให้ • งบดุลตั้งอยู่บนหลักความระมัดระวัง • กิจการมีค่าใช้จ่ายที่จะเป็นตัวฉุดผลประกอบการในงวดอนาคตที่น้อยลง

  26. Big Bath • คือการรายงานฐานะการเงินและผลประกอบการให้ต่ำในรอบระยะเวลาปัจจุปัน โดยการรับรู้ค่าใช้จ่ายจำนวนมาก เพื่อให้ผลประกอบการในอนาคตดูดี เนื่องจากธุรกิจไม่ต้องรับรู้ค่าใช้จ่ายต่างๆ นั้นแล้ว • เช่น การประมาณหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจำนวนมาก เช่น หนี้สินจากการรับประกัน หรือการตัดมูลค่าสินทรัพย์ลงจำนวนมาก เช่น การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเกินจริง

  27. Big Bath • จะเกิดขึ้นในปีที่กิจการตกต่ำ ไม่สามารถทำกำไรได้ตามเป้า • ทำไปด้วยมุมมองที่ว่าไม่มีอะไรจะเสียมากไปกว่านี้หากจะทำให้ผลประกอบการของงวดปัจจุบันเลวร้ายไปกว่าที่เป็นอยู่ลงไปอีก

  28. Earnings Management • Cookie jar reserve • คือการใช้นโยบายบัญชีที่โอนย้ายรายได้จากรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันไปสู่รอบระยะเวลาบัญชีในอนาคต เพื่อให้ผลประกอบการดูดี

  29. Earnings Management • Fraudulent Financial Reporting • การแสดงจำนวนเงินหรือการเปิดเผยข้อมูลที่ผิด ๆ หรือการละเว้นจำนวนเงินหรือการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินเพื่อที่จะทำให้ผู้ใช้งบการเงินหลงผิด ซึ่งตามกฎหมายแพ่ง อาญา หรือทางการบริหารแล้วถือว่าเป็นการทุจริต

  30. Fraudulent Financial Reporting • มีหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น • การถือรูปแบบสำคัญกว่าเนื้อหา • พยายามรับรู้รายได้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเป็นรายได้ในปัจจุบัน • นำการขายของคนอื่นมาถือเป็นการขายของตน • ถือรายจ่ายประจำงวดเป็นสินทรัพย์

  31. กรณีศึกษา : Coke & Coke Enterprise • ตัวอย่าง • Coca-Cola (Coke) เป็นผู้ผลิตน้ำอัดลมรายใหญ่ของโลก โดยมีส่วนแบ่งตลาด 47% • Cokeให้บริษัทในเครือ(Coca-Cola Enterprise)ประกอบกิจกรรมการบรรจุขวดและจัดจำหน่ายน้ำอัดลม โดยที่ Coke ถือครองร้อยละ 44

  32. กรณีศึกษา : Coke & Coke Enterprise • หลักการเนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ • มาตรฐานการบัญชีพยายามกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้ธุรกิจปฏิบัติตามโดยคำนึงถึงเนื้อหาของรายการค้ามากกว่ารูปแบบทางกฎหมาย • แต่การกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ เปิดโอกาสให้ธุรกิจประกอบธุรกรรมในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้นโยบายบัญชีที่สะท้อนตัวเลขที่ต้องการ

  33. กรณีศึกษา : Coke & Coke Enterprise • ความสัมพันธ์ระหว่างสองบริษัทมีดังนี้ • Enterpriseผลิตน้ำอัดลมเกือบทั้งหมดของ Cokeโดยได้สิทธิบัตรในการดำเนินการดังกล่าว โดยจัดซื้อหัวเชื้อของน้ำอัดลมจาก Coke • Coke ทำการโฆษณาและสนับสนุนการตลาดให้ Enterprise • 90%ของรายได้ของ Enterpriseมาจากการขายผลิตภัณฑ์ของCokeโดยที่ Cokeมีอำนาจในการกำหนดราคาวัตถุดิบที่ Enterpriseใช้ในกระบวนการผลิต • ประธานกรรมการและกรรมการผู้บริหารสามคนมาจาก Coke • Coke ถือหุ้น 44% ของEnterprise

  34. กรณีศึกษา : Coke & Coke Enterprise • ควรทำงบการเงินรวมหรือไม่ • โค้กถือหุ้น 44 เปอร์เซ็นต์ • แต่มีความสามารถในการควบคุมการดำเนินงานของ Enterprise • มาตรฐานการบัญชีอเมริกาขณะนั้นกำหนดให้ทำงบการเงินรวมเมื่อแสดงความสามารถในการควบคุมโดยถือหุ้นเกิน 50 เปอร์เซ็นต์ • ขณะนี้มาตรฐานพิจารณาความสามารถในการควบคุมเชิงเศรษฐกิจแล้ว

  35. กรณีศึกษา: บริษัท ดาต้าแมท จำกัด • ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินประจำปี 2545 เนื่องจากบริษัทฯ ไม่นำงบการเงินของบริษัทย่อยในประเทศ 2 แห่ง (เดฟฟิเนทลี คอร์ปปอเรชั่น และดาต้าแมท ดีบีเอ จำกัด) • ผู้สอบบัญชีไม่สามารถตรวจสอบงบการเงินของบริษัทย่อยในต่างประเทศ 2 แห่งที่นำเสนออยู่ในงบการเงินของบริษัทฯ บริษัทย่อยดังกล่าวมีสินทรัพย์และรายได้เป็นร้อยละ 38.8 และ 42.9 ของสินทรัพย์และรายได้รวมของดาต้าแมท

  36. กรณีศึกษา:Enron • เกิดจากการรวมกิจการของสองบริษัทในช่วงทศวรรษปี 1980 • ธุรกิจค้าพลังงาน ตั้งอยู่ในรัฐ Texasสหรัฐอเมริกา • เริ่มผันตัวเข้าสู่ธุรกิจอื่น เช่น Bandwidth, advertising time/space

  37. กรณีศึกษา:Enron • วัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นการแข่งขันและสร้างภาพทางการบัญชี • ค่าตอบแทนผู้บริหารขึ้นอยู่กับผลกำไร • ค่าตอบแทนผู้บริหารขึ้นอยู่กับราคาหุ้น (Stock Options) • แรงจูงใจในการสร้างการเติบโตของรายได้ • คัดพนักงานที่มีผลการดำเนินงานไม่ดีออกเป็นจำนวนมาก • มีหนี้สินและสัญญาค้ำประกันจำนวนมาก • กว่า 37,000 ล้านเหรียญในปี 2000 (เพิ่มจากเดิม 14,000 ล้านในปี 1999) • Debt covenant

  38. กรณีศึกษา:Enron: Special Purpose Entity • SPEคืออะไร? • องค์กรเฉพาะกิจ ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินธุรกรรมเฉพาะ • โดยมากจะเป็นสถาบันการเงินที่ทำธุรกรรม Securitization, Leasing • FASB 57กำหนดให้ธุรกิจไม่ต้องพิจารณา SPEในการทำงบการเงินรวม • หากมีผู้ลงทุนภายนอกที่เป็นอิสระมาลงทุนอย่างน้อยร้อยละ 3 ของสินทรัพย์รวม • ผู้ลงทุนดังกล่าวมีส่วนควบคุม SPEนั้น

  39. กรณีศึกษา:Enron: Special Purpose Entity • ความจริงที่ปรากฏ • ผู้ลงทุนภายนอกคือ Mr.Fastow ซึ่งทำงานให้กับ Enron เอง • Enronค้ำประกันเงินกู้และเงินลงทุนให้กับผู้สนับสนุนเงินลงทุนใน SPE • Enronควรรวม SPEในการทำงบการเงินรวม • หนี้สินที่ปรากฏใน SPEทำให้หนี้สินของธุรกิจสูงขึ้นจำนวนมาก • กำไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์จะถูกตัดออกในกระบวนการทำงบการเงินรวม

  40. กรณีศึกษา:Enron: Special Purpose Entity • จุดแตกหักของ Enron • ปรับส่วนของผู้ถือหุ้นลง 1200 ล้านเหรียญ • รายงานหนี้สินเพิ่มขึ้น 711 ล้านเหรียญในปี 1997 • ผลกระทบต่อมา • Debt Ratings by Moody’s and S&P • Downgraded to barely investment grade • Downgraded Enron’s debt securities to junk • ส่งผลให้หนี้สินของ Enron ครบกำหนดชำระทันทีตาม Debt Covenant

  41. ข้อจำกัดอื่นๆ ของรายงานการเงิน • หลักความระมัดระวัง (Conservatism) • รายงานกำไรและสินทรัพย์ต่ำในปัจจุบัน • ทำให้ผลการประกอบการในอนาคตดูดี • ผลกระทบต่อการวิเคราะห์อัตราการเติบโต

  42. ข้อจำกัดอื่นๆ ของรายงานการเงิน • การวัดมูลค่าด้วยวิธีต่างๆ ที่ไม่อาจเปรียบเทียบกันได้ • หลักราคาทุน • ราคายุติธรรม หรือราคาตลาด • ค่าปัจจุบัน • อาศัยประมาณการ เช่น • การคิดค่าเสื่อมราคา • การประมาณหนี้สงสัยจะสูญ • การประมาณค่าใช้จ่ายจากการรับประกันคุณภาพ

  43. ข้อจำกัดอื่นๆ ของรายงานการเงิน • หลักการบัญชีรายงานรายการค้าที่เกิดขึ้นในอดีต ก่อให้เกิดรายการนอกงบดุลอย่างมีนัยสำคัญ • หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น • สัญญาซื้อขายล่วงหน้า • เครื่องมือทางการเงิน • สัญญาเช่าแบบดำเนินงาน

  44. กรณีศึกษา: บมจ. เอ็มดีเอกซ์ • บริษัทฯ มิได้บันทึกรายการหนี้สินที่เกิดจากการทำสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (swap) จำนวน 27.67 ล้านเหรียญสหรัฐ รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องมาตั้งแต่ปี 2540 • บริษัทฯ อ้างว่าสัญญาดังกล่าวอาจไม่มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย • ต่อมาเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งให้บริษัทชำระหนี้และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องดังกล่าว • แสดงว่าบริษัทฯ มีภาระผูกพันดังกล่าวมาโดยตลอด

  45. กรณีศึกษา: บมจ. เอ็มดีเอกซ์ • ผลกระทบต่อการวิเคราะห์งบการเงิน • หนี้สินต่ำเกินไป • ส่วนของผู้ถือหุ้นสูงเกินไป • โครงสร้างทางการเงิน

  46. การบ้านและแบบฝึกหัด • เลือกบริษัทหรืองบการเงินที่คิดว่ามีการทำ Creative Accounting พร้อมอธิบายว่ามีการทำ Creative Accounting แบบใด • เช่น เนื้อหา ……………………………………………………….. Creative Accounting ………………………………………………

More Related