1 / 55

หลักการและแนวคิดของงานสาธารณสุขมูลฐานและงานสร้างสุขภาพแบบองค์รวม:บทเรียนจาก PCU นาตาวงษ์

หลักการและแนวคิดของงานสาธารณสุขมูลฐานและงานสร้างสุขภาพแบบองค์รวม:บทเรียนจาก PCU นาตาวงษ์. วิทยากร. นพ . นิวัฒน์ชัย นามวิชัยศิริกุล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลบ้านเหลื่อม นางนิศารัตน์ เรืองอนันต์ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 5 นายคมกริช ฤทธิ์บุรี นักวิชาการสาธารณสุข 6

Download Presentation

หลักการและแนวคิดของงานสาธารณสุขมูลฐานและงานสร้างสุขภาพแบบองค์รวม:บทเรียนจาก PCU นาตาวงษ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการและแนวคิดของงานสาธารณสุขมูลฐานและงานสร้างสุขภาพแบบองค์รวม:บทเรียนจากPCUนาตาวงษ์หลักการและแนวคิดของงานสาธารณสุขมูลฐานและงานสร้างสุขภาพแบบองค์รวม:บทเรียนจากPCUนาตาวงษ์

  2. วิทยากร • นพ.นิวัฒน์ชัย นามวิชัยศิริกุล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลบ้านเหลื่อม • นางนิศารัตน์ เรืองอนันต์ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 5 • นายคมกริช ฤทธิ์บุรี นักวิชาการสาธารณสุข 6 • นางปิ่นอนงค์ เดชไกรสร พยาบาลวิชาชีพ 7 • นางอำไพ แก้วกระจ่าง พยาบาลวิชาชีพ 7 • นางสมคิด ตากงูเหลือม อสม. • นายสมบัติ อบต.

  3. ลำดับการนำเสนอ 1.หลักการ,แนวคิดและพัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐาน 2.หลักการ,แนวคิดของงานสร้างสุขภาพแบบองค์รวม 3.การประยุกต์และบูรณาการแนวคิดของงานสาธารณสุขมูลฐานและสร้างสุขภาพแบบองค์รวมผ่าน 11 Macro-Flow chart ของงานเวชศาตร์ครอบครัว 4.ตัวอย่างกรณีศึกษาจากPCU นาตาวงษ์

  4. หลักการทำงานของงานสาธารณสุขมูลฐานหลักการทำงานของงานสาธารณสุขมูลฐาน • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (ภูมิปัญญาชาวบ้าน) • การประสานงานระหว่างสาขา • การสนับสนุนการบริการสาธารณสุขแบบบูรณาการ

  5. หลักการ,แนวคิดและพัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐานหลักการ,แนวคิดและพัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนา ปัจจุบัน งานสาธารณสุขมูลฐานเดิม • ข้อ 1,2,3,4 • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • เทคโนโลยีในการสร้างสุขภาพ • (Empowerment, การชึ้นำ) • RBM 1. การใช้ตัวชี้วัด (เป้าหมาย,กระบวนการ,ประเมินผล) 2. การมีส่วนร่วม (แกนนำ, ผู้นำการเปลี่ยนแปลง) 3. กระบวนการจัดทำแผน Bottom up 4. การประสานระหว่างสาขา

  6. พัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐานพัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐาน สถานีอนามัย PCU หมู่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน Multi Directional path way. อสม. คุ้ม กสค. อปท. กสต. หมู่บ้าน คุ้ม ครอบครัว ทุนทางสังคมปัจจุบัน ทุนทางสังคมเดิม

  7. พัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐานพัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐาน PCU สถานีอนามัย หมอครอบครัว หมออนามัย (จบ 2ปี ~1-2 คน) ครู ปลัดอำเภอ เกษตร สาธารณสุข พัฒนากร อบต ครู+พระ สาธารณสุข ผู้นำชุมชน คบสต. คปต. จปฐ + สดถ.ย 21 14 แพทย์,เภสัช,ทันตกรรม,พยาบาล 4 ปี 1-2 คน , 2ปี 1-3 คน การสร้างสัมพันธภาพ,ศรัทธา รู้จักเข้าใจวิถีชุมชน ค้นหาศักยภาพเพื่อ Empowerment

  8. หลักการสำคัญของงานสร้างสุขภาพหลักการสำคัญของงานสร้างสุขภาพ 1. การสร้างพลังอำนาจ(Empowerment) 2. การมีส่วนร่วมของสาธารณะ (Public participation) 3. การให้ความสำคัญแก่ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ 4. การลดความไม่เท่าเทียมและความไม่ยุติธรรมทางสังคม 5. การกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาค (Intersectoral cooperation)

  9. OTTAWACHARTERกลยุทธ์สำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวาOTTAWACHARTERกลยุทธ์สำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา • ก. สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ • ข. สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • ค. ส่งเสริมกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง • ง. พัฒนาทักษะส่วนบุคคล • จ. ปรับเปลื่ยนบทบาทของระบบบริการสาธารณสุข

  10. (เข้าใจ)สองแนวคิดของการพัฒนา(เข้าใจ)สองแนวคิดของการพัฒนา เพื่อสร้างความเข้มแข็งvsเพื่อสนองความต้องการ • มองแคบ / ตื้น (มาม่า ยำยำ ไวไว) • เอาผลเข้าว่า • เห็นแต่ปัญหา • รวมศูนย์จากภายนอก • อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ • มองกว้าง • มุ่งที่กระบวนการ • เป็นการเสริมสร้างพลังจากภายใน • ยิ่งทำความสามารถยิ่งเพิ่ม ผสมผสาน • ชุมชนเปลี่ยนแปลง • เกิดจิตสำนึก • พึ่งตนเองได้ • คุณภาพชีวิตดี • สุขภาพดี ? เน้นผลงาน ไม่สนใจกระบวนการ เน้นกระบวนการ

  11. ระดับการทำงานเวชปฎิบัติครอบครัวระดับการทำงานเวชปฎิบัติครอบครัว • บุคคล (The Individual) • ครอบครัว(The Family) • ชุมชน(The Community) • ประชาชน(The Population)

  12. Community – Oriented Primary Care ( COPC ) • ขั้นที่ 1 Practice profile ค้นหาปัญหาทางคลินิกที่พบบ่อยในสถานบริการ • ขั้นที่ 2 Individual Assessment ค้นหาผู้ป่วยที่มีปัญหาและศึกษาผู้ป่วยให้เข้าใจในฐานะมนุษย์ • ขั้นที่ 3 Home Visit (Family assessment ) เยี่ยมบ้านของผู้ป่วย รู้จักครอบครัวศึกษาครอบครัวและความเจ็บป่วยในบริบทของครอบครัว • ขั้นที่ 4 Community Assessment รู้จักชุมชน ข้อมูลในชุมชน ทรัพยากรโครงสร้างในและหน้าที่ • ขั้นที่ 5 Prioritiesค้นหาและจัดลำดับความสำคัญของปัญหาในชุมชน • ขั้นที่ 6 Team Formationสร้างทีมที่เหมาะสมกับปัญหาประสานงานกับผู้ป่วย องค์กรในชุมชนผู้นำท้องถิ่น การแพทย์ทางเสริม • ขั้นที่ 7 Plan of actionวางแผนและลงมือปฏิบัติในปัญหาสำคัญที่สุด • ขั้นที่ 8 Evaluationติดตามกระบวนการปฏิบัติควบคุมกำกับและประเมินผลเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย

  13. กระบวนการหลักของหน่วยบริการปฐมภูมิ (PCU) บริการในชุมชน บริการใน PCU บริการต่อเนื่อง 1. สำรวจครอบครัว 2. ทะเบียน/คัดกรอง 8. กิจกรรม ชุมชน 3. บริการหลัก 4. Counselling 11. ประชุมวางแผน 5. บริการก่อน กลับบ้าน 6. ส่งต่อ/เยี่ยมบ้าน 10. นิเทศ/ประเมิน 7. ประชุม วางแผน กิจกรรมต่อเนื่อง 9. บริหาร

  14. สี่ขั้นของความเป็น “ตัวตน”ของบุคลากร 2 บุคลิกภาพ อ่อนไหวตามเหตุการณ์ บุคลิกภาพ ความรู้สึกเชื่อมั่น มีศักดิ์ศรี 1 3 กำลังใจ(ค่าความเป็นคน ศักดิ์ศรี พลังจิต) เครื่องนำทางชีวิต(กระบวนทัศน์ หลักการ มาตรฐาน เงื่อนไข) โลเล ไม่มีหลัก มั่นคงในหลักการ มองเห็นปัญหาตามความเป็นจริง ไม่เห็นปัญหาตามเหตุและผล มีปัญญา(ความสามารถตีปัญหา ตัดสินด้วยเหตุผลตามความจริง) มีพลังขับเคลื่อนสู่การเปลี่ยนแปลง ความสำเร็จ สามารถคิดเอง-ทำเอง เป็นหุ่นเชิด

  15. บุคลากร/แกนนำสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้บุคลากร/แกนนำสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ • ทราบและสามารถเข้าถึงผู้ที่มีหรือเสี่ยงต่อการมีปัญหาทางสุขภาพได้ • จัดแบ่งกลุ่มต่างๆและวางกลยุทธเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะกลุ่มได้ • ค้นหาและพัฒนาแกนนำในการแก้ปัญหาได้ • สร้างเครือข่ายที่ครอบคลุมทุกหลังคาเรือนได้ • พัฒนาสื่อเพื่อการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ • ใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่ได้ • สามารถเป็นศูนย์ข้อมูลทางสุขภาพให้ภาคประชาชนได้ • สามารถสร้างเส้นทางข้อมูลข่าวสารใหม่ที่เป็นทางด่วนและเป็นอิสระได้

  16. บุคลากร/แกนนำสามารถสร้างกระบวนการที่เอื้อต่อการแสดงบทบาทได้บุคลากร/แกนนำสามารถสร้างกระบวนการที่เอื้อต่อการแสดงบทบาทได้ ปัจจัย 7 ประการที่เอื้อต่อการแสดงบทบาทที่ต้องกำหนดกระบวนการ (ทำอย่างไร) ได้แก่ 1. การรับทราบ การวิเคราะห์ความรู้ เข้าใจความสำคัญของปัญหา 2. การสร้างทักษะ การประยุกต์ การใช้เทคโนโลยี 3. การสร้างเสริมความเข้มแข็งทางจิตใจ ( การสร้างจิตสำนึก ความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ ศรัทธา ฯลฯ) 4. การสร้างเครือข่าย 5. การสร้างความเป็นผู้นำ 6. การสร้างระบบสนับสนุน (การจัดองค์กร การเงิน การประสานงานฯลฯ) 7. การดำเนินมาตรการทางสังคม(การสร้างระเบียบสังคม การรณรงค์ ฯลฯ)

  17. จากบทเรียนของศูนย์สุขภาพชุมชนนาตาวงษ์จากบทเรียนของศูนย์สุขภาพชุมชนนาตาวงษ์

  18. Process INPUT กระบวนการพัฒนา เครื่องมือ ข้อมูล(เดิม) 1) ทั่วไป 2) จปฐ 3) สดถ.ย 4) ปัญหาสุขภาวะ 1) ยุทธศาสตร์พัฒนาการมีส่วนร่วมและEmpowerment 3)ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศและวิชาการ 4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหาร 5) ยุทธศาสตร์การพัฒนางานบริการ 1)สำรวจ จปฐ(รายหลังคาเรือน) 2)แบบสรุป จปฐ (รายคุ้มโดย อสม) 3)แบบสรุป จปฐ(รายหมู่บ้านโดย อสม.) 4)แบบสรุป สดถ.ย รายหมู่บ้านโดยผู้นำชุมชน 5)แบบสรุป สดถ.ย รายตำบลโดยจนท 6)แบบวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไขรายหมู่บ้านโดยผู้นำชุมชน 7)ทะเบียนข้อมูลรายกิจกรรมโดยระบบเจ้าภาพ ผลการดำเนินการ KSF Output + Outcome

  19. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาPCUการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาPCU จตุรมิตร ภาครัฐ/เอกชน บริหาร บริการ วิชาการ สถานบริการ ท้องถิ่น

  20. ประชาคมสุขภาพก่อเกิดการมีส่วนร่วม…ประชาคมสุขภาพก่อเกิดการมีส่วนร่วม… • การวางแผนงาน • การบริหารงาน/บุคลากร • งานสร้างสุขภาพ • งานควบคุมโรค • กิจกรรมชุมชนเข้มแข็ง • การระดมทุน • งานบริการ

  21. ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชนยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชน ยุทธศาสตร์พัฒนางานบริการ ยุทธศาสตร์พัฒนางานบริหาร ยุทธศาสตร์พัฒนางานข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ยุทธศาสตร์การพัฒนาPCUจากเวทีประชาคม

  22. นวัตกรรมงานสร้างสุขภาพระบบเจ้าภาพในชุมชนนวัตกรรมงานสร้างสุขภาพระบบเจ้าภาพในชุมชน • โครงการพลังมดพิฆาตลูกน้ำยุงลาย • โครงการหลอดเลือดดีชีวีสดใส • โครงการธรรมดนตรีสุนทรีย์แห่งชีวิต • โครงการกระเป๋าสุขภาพด้วยรักและห่วงใย • โครงการยาสามัญประจำบ้านสู่ครอบครัว • โครงการผักสะอาดปลอดสารพิษด้วยด่างทับทิม • โครงการฟันสวยยิ้มใส • โครงการเพื่อน อสม.ช่วยเพื่อน อสม.

  23. กิจกรรมเด่นงานสร้างสุขภาพกิจกรรมเด่นงานสร้างสุขภาพ ชมรมสร้างสุขภาพ (ภายใต้ระบบเจ้าภาพ)

  24. ชมรมออกกำลังกาย ผลการดำเนินงาน(ภายใต้ระบบเจ้าภาพที่ชุมชนมีส่วนร่วม) 1. มีชมรมออกกำลังกาย เริ่มดำเนินการ เดือนกันยายน พ.ศ. 2546 ดังนี้ - ชมรมแอโรบิค 15 ชมรม สมาชิก 653 คน - ชมรมรำไม้พลอง 4 ชมรมสมาชิก 125 คน - ชมรมฟุตบอล 1 ชมรมสมาชิก 41 คน - ชมรมวอลเล่ย์บอล 1 ชมรมสมาชิก 49 คน - ชมรมแฮนด์บอล 1 ชมรมสมาชิก 36 คน รวมทั้งสิ้น 22 ชมรมสมาชิก 904 คน

  25. ชมรมออกกำลังกาย ผลการดำเนินงาน 2.มีการนำผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองในกลุ่มอายุ 40 ปีขึ้นไป มาเข้าชมรมออกกำลังกาย เพื่อลดอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดโรค 3. จัดกิจกรรมรวมพลคนเสื้อเหลืองระดับตำบล โดยมีการเต้นแอโรบิครวมกันทุกหมู่บ้านเดือนละ 1 ครั้ง ดังนี้ - 28 ธันวาคม 46 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 525 คน - 25 มกราคม 47 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 463 คน - 22 กุมภาพันธ์ 47 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 429 คน - 28 มีนาคม 47 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 490 คน

  26. ชมรมสร้างสุขภาพ หมู่บ้านนำเสนอเป็นตัวอย่าง บ้านโนนหมัน หมู่ที่ 9 เจ้าภาพรับผิดชอบ นางน้อย ฟองจำเริญ ประธาน อสม. มีสมาชิกชมรม 196 คน กิจกรรมมี 2 ประเภท คือ เต้นแอโรบิค และรำไม้พลอง สุขภาพแข็งแรงด้วยการออกกำลังกาย ช่วยลด ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ

  27. ชมรมออกกำลังกาย การประเมินผล กรณีตัวอย่าง หมู่ที่ 4 บ้านพระวังหาร ต.หนองงูเหลือม อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา ชมรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ สมาชิก 120คน หมายเหตุมีผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเข้าร่วมกิจกรรม 10 คน

  28. กิจกรรมสร้างสุขภาพ โครงการหลอดเลือดดี ชีวีสดใส โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

  29. โครงการหลอดเลือดดี ชีวีสดใส หมู่บ้านนำเสนอเป็นตัวอย่าง บ้านพระวังหาร หมู่ที่ 4 เจ้าภาพรับผิดชอบ นางประกอบ มากงูเหลือม (อสม.) ตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในประชาชน อายุ 40 ปีขึ้นไป โดยตรวจ ปีละ 1 ครั้ง ในปี 2547 พบผู้ป่วยรายใหม่ 13 ราย ค้นหาและรักษาตั้งแต่ต้น ค่าใช้จ่ายน้อย ประหยัดเงินของชาติได้ นะจะบอกให้

  30. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรวมทั้งภาวะแทรกซ้อน ตั้งแต่ปี 2544 – 2547

  31. กิจกรรมสร้างสุขภาพด้านการควบคุมป้องกันโรคกิจกรรมสร้างสุขภาพด้านการควบคุมป้องกันโรค • ไข้เลือดออก โครงการพลังมดพิฆาตลูกน้ำยุงลาย

  32. การควบคุมป้องกันโรคอย่างมีส่วนร่วมการควบคุมป้องกันโรคอย่างมีส่วนร่วม อำเภอ SRRT BEFORE AFTER 1 AFTER 2 ตำบล SRRT ระบบเจ้าภาพ หมู่บ้าน จตุรมิตร หมู่บ้าน จตุรมิตร หมู่บ้าน จตุรมิตร

  33. งานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก สถานการณ์ไข้เลือดออกย้อนหลัง 3 ปี (25 เมษายน 47) (กระทรวงกำหนดไว้ในปี 2547 อัตราป่วยตายไม่เกินร้อยละ 0.15 ลดอัตราป่วยให้อยู่ในระดับไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร )

  34. งานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก กลวิธีการดำเนินงาน • 1. ประชาคมสุขภาพ/บูรณาการกับงาน สดถ.ย. • 2. หาเจ้าภาพผู้รับผิดชอบงาน ครบ 15 หมู่บ้าน • 3. จัดตั้งทีม พิฆาตลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ครบ 15 หมู่บ้าน • สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์ • ใช้แบบบันทึกกิจกรรมทีมพิฆาตลูกน้ำ • สรุปและประเมินผลทุกสัปดาห์ • 4. จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็วภายใน PCU

  35. โครงการพลังมดพิฆาตลูกน้ำยุงลายโครงการพลังมดพิฆาตลูกน้ำยุงลาย หมู่บ้านนำเสนอเป็นตัวอย่าง บ้านพระวังหาร หมู่ที่4 เจ้าภาพรับผิดชอบ นายสะเทือน มากงูเหลือม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านพระวังหาร บริหารทีมงานพลังมดพิฆาตลูกน้ำยุงลาย 4 ทีมๆ ละ 1 ละแวก (8-10 หลังคาเรือน) ตรวจลูกน้ำทุกเย็นวันอาทิตย์ เริ่มกิจกรรมระบบเจ้าภาพ ตั้งแต่ พ.ย.46ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน การประเมินผล ค่า HI ต่ำกว่า 10 ทุกเดือน เรามาช่วยชาติประหยัดค่าทรายอะเบท ด้วยสองมือของเรากันเถอะ

  36. งานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก การประเมินผล( 1 มค.47-25เมย.47) 1. จากการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้าน ค่า HI น้อยกว่า 10 ทุกเดือน 2. อัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก เท่ากับ 0 3. ลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ดังนี้ สรุปค่าใช้จ่าย

  37. งานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก เปรียบเทียบค่าใช้จ่าย

  38. งานสุขภาพใจในชุมชน รับพระราชทานโล่รางวัลชนะเลิศระดับชาติ จาก สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส นาครินทร์ ในงานประกวดสุขภาพจิตดีเด่นระดับศูนย์สุขภาพชุมชน ประจำปี 2547

  39. ข้อมูลการคิดฆ่าตัวตายตำบลหนองงูเหลือม ปี 2544 - พฤษภาคม 2547 หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ปี พ.ศ. สำเร็จ ไม่สำเร็จ 3 บ้านรวง 2546 1 6 บ้านสวาสดิ์ 2545 1 2546 2 8 บ้านนาตาวงษ์ 2544 2 2547 1

  40. แผนภูมิแสดงสาเหตุของปัญหาทางสุขภาพจิตแผนภูมิแสดงสาเหตุของปัญหาทางสุขภาพจิต

  41. GOAL กรอบแนวคิดการดำเนินงาน Input Process Out Put Effect Out Come ข้อมูลทางสถิติด้านสุขภาพจิต สาเหตุของปัญหาสุขภาพจิต… ขาดการแก้ปัญหาที่สาเหตุความเครียด ขาดความรู้หรือแนวทางในการบำบัด ขาดการบำบัดความเครียดด้วยตนเอง ขาดที่พึ่งในการบำบัดความเครียด ขาดการประสานงานของเครือข่าย ทุน….ทางสังคม ประชาชน,ผู้นำชุมชน วัด,โรงเรียน ชมรมปฏิบัติธรรมและสูงอายุ ชมรม อสม.

  42. คัดกรองสุขภาพจิต สำรวจกลุ่มนักเรียนและวัยรุ่น สำรวจผู้ใช้สารเสพติด,บุหรี่,เหล้า • เครือข่ายสุขภาพจิต • วัด • โรงเรียน • ชุมชน • ชมรมต่างๆ • ผู้นำชุมชน ประชาชน 9,213 คน จำแนกตามกลุ่มต่างๆดังนี้ 1.กลุ่มเครียด,ซึมเศร้า,ฆ่าตัวตาย 50 คน 4. ครอบครัวที่มีปัญหา (21) 2.กลุ่มผู้ป่วยโรคประสาท (85)/จิตเภท (20) 5. ชมรมสร้างสุขภาพต่างๆ 3.กลุ่มผู้ใช้สารเสพติด(12,18) กิจกรรมส่งเสิรมและป้องกัน กิจกรรมรักษาและฟื้นฟู โครงการครอบครัวสัมพันธ์ (โรงเรียน+ศสช.) โครงการขยับกาย สบายชีวี (อสม.+ชุมชน) โครงการผู้สูงอายุและชมรมผู้ปฎิบัติธรรม (วัด+ศสช.) โครงการค่ายแลกเปลื่ยนวิสัยทัศน์ (ทุกหน่วยงาน) โครงการ To be number 1 (โรงเรียน+ชุมชน) โครงการผสานพลังแผ่นดินฯ (ชุมชน+โรงเรียน) โครงการธรรมะดนตรีสุนทรีย์แห่งชีวิต (วัด+ศสช.) โครงการธรรมะดนตรีบำบัดสู่ชุมชน (วัด+ศสช.+ชุมชน) โครงการผสานพลังแผ่นดินฯ (ชุมชน+ศสช.) กิจกรรมการบำบัดรักษาและบริการห้องให้คำปรึกษาบนสถานบริการ งานบริการเยี่ยมบ้าน พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพจิต (Referal System)

  43. โครงการครอบครัวสัมพันธ์โครงการครอบครัวสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย 21 ครอบครัว(ลงเยี่ยม) - เข้าร่วมโครงการ 13 ครอบครัว กิจกรรมพัฒนา EQ ผลการดำเนินงาน พึงพอใจต่อโครงการ 100 % การนำไปใช้ประโยชน์ 96.1% ในชีวิตประจำวัน ถ่ายทอดของวิทยากร 99.4 % โครงการใกล้ใจในโรงเรียน ผลการดำเนินงานตามโครงการต่างๆ ดำเนินงานภายใต้ โรงเรียน ,ศูนย์สุขภาพชุมชนและชุมชน • งบประมาณ • ชุมชน 1,000 บาท • เงินบำรุงศสช. 5,000 บาท ผู้ปกครองบอกว่าบุตรมีการเปลี่ยนแปลงด้านความประพฤติชัดเจน

  44. ผมขอกราบขออภัยที่ล่วงเกิน…ผมขอกราบขออภัยที่ล่วงเกิน… แม่เลี้ยงหนูมมาจนเมื่อย…หนูขอ…นวดให้แม่นะค่ะ หนูรักแม่ที่สุด..

  45. สรุป…ปัจจัยแห่งความสำเร็จจากบทเรียนสรุป…ปัจจัยแห่งความสำเร็จจากบทเรียน • การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน…โดยเกิดความเป็นเจ้าของ • ชุมชนมีความเข้มแข็ง โดยเฉพาะระบบเจ้าภาพในงาน สดถ.ย. • ผู้บริหารทุกระดับให้ความสนับสนุน • มีการทำงานเป็นทีม • มีการทำงานที่เป็นระบบ โดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง • มีการพัฒนางานวิจัย/การพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง • การสร้างความยั่งยืนผ่านองค์การแห่งการเรียนรู้

  46. ปัจจัยความสำเร็จด้าน การบริหารงานของทีมนำ • การบริหารจัดการแทนการประสานงาน • RBM และKPI • Partnership (Trait ผู้นำ 2ฝ่าย) • WIN-Win Strategy • Team Work • - Strategic man • - Therapeutic bonding

  47. THERAPEUTIC BONDING การสร้างศรัทธาและสัมพันธภาพระหว่างทีมงานและชุมชนด้วยการให้การบริการ เพื่อเกิดกระแสความเชื่อมั่น โดยบูรณาการเชื่อมกับงานสร้างสุขภาพ

More Related