330 likes | 687 Views
NAS (Network Attached Storage). เสนอ อาจารย์บุญทรัพย์ ไวคำ. รายชื่อสมาชิกกลุ่ม. นางสาวสุชาดา อนุกูลประเสริฐ 483020386-4 นางสาวอินธิรา ดำรงกุล 483020397-9 คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่3. หัวข้อ. ประวัติของ NAS รู้จักกับ NAS โครงสร้างของNAS
E N D
NAS (Network Attached Storage) เสนอ อาจารย์บุญทรัพย์ ไวคำ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม นางสาวสุชาดา อนุกูลประเสริฐ 483020386-4 นางสาวอินธิรา ดำรงกุล 483020397-9 คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่3
หัวข้อ ประวัติของNAS รู้จักกับNAS โครงสร้างของNAS หลักการทำงานของNAS ประเภทของNAS การประยุกต์ใช้NAS ข้อดีของNAS ข้อเสียของNAS สิ่งที่ต้องคำนึงในการเลือกใช้อุปกรณ์NAS ความแตกต่างระหว่าง SAN กับ NAS แนวโน้มของNAS สรุป QUIZ
ประวัติของNAS การจัดเก็บข้อมูลยุคแรกๆ เป็นการเชื่อมต่อแบบDirect Attached Storage หรือ Server Attached Storage ได้มีการแยกดิสก์หรือสตอเรจออกมาตั้งไว้ตรงกลาง แล้วต่อเซิร์ฟเวอร์เข้ามาแชร์ใช้งานเรียกว่าNetwork Attached Storage หรือ NAS NAS ยุคแรกพัฒนาขึ้นมาบนพื้นฐานของเคอร์แนลแบบยูนิกซ์
รู้จักกับNAS NAS (Network Attached Storage) มีสถาปัตยกรรมการจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้ม การส่งถ่ายข้อมูลข่าวสารจากอุปกรณ์จัดเก็บเป็นการวิ่งบนระบบเครือข่าย LAN NAS ประกอบด้วยอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย IP
โครงสร้างพื้นฐานของNAS NAS มีการเข้าถึงทำงานแบบไฟล์บนเซิร์ฟเวอร์โดย Client หรือเวิร์กสเตชันผ่านทางเน็ตเวิร์กโปรโตคอล NAS จะใช้ในการส่งข้อมูลในปริมาณที่ไม่สูงมากนักเมื่อเทียบกับ SAN และต้องใช้ช่วงเวลาน้อยกว่าอีกด้วย NAS ไม่เหมาะที่จะไว้ใช้รับส่งไฟล์ขนาดใหญ่มาก ๆ
หลักการทำงานของNAS NAS (Network Attached Storage) มีสถาปัตยกรรมการจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้ม มีอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเชื่อมต่อโดยตรงเข้าไปที่อุปกรณ์เครือข่าย การส่งถ่ายข้อมูลข่าวสารจากอุปกรณ์จัดเก็บเป็นการวิ่งบนระบบเครือข่ายแลน โดย LAN และ WAN ตัว NAS จะติดตั้งโปรเซสเซอร์ไว้ภายในเพื่อให้สามารถบริหารตัวมันเองได้ด้วย
รูป ระบบการเชื่อมต่อของNAS
รูปการเชื่อมต่อเครือข่ายของNASรูปการเชื่อมต่อเครือข่ายของNAS
ประเภทของ NAS อุปกรณ์ NAS ในตลาดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. อุปกรณ์ NAS ที่ใช้ประโยชน์จากโพรโตคอล Network Data Management Protocol (NDMP) 2. อุปกรณ์ NAS ที่ประยุกต์การใช้งานแบบวินโดวส์
ตัวอย่าง การใช้งานของNASในองค์กร
การประยุกต์ใช้NAS รูป การประยุกต์ใช้NASกับอุปกรณ์ต่างๆ
ข้อดีของ NAS บริหารจัดการได้ง่าย มีความยืดหยุ่น ติดตั้งได้ง่าย ทำงานได้ดีกับระบบที่ต้องส่งข้อมูลเป็นระยะทางไกล ๆ NAS จะมีความปลอดภัยในระดับของไฟล์
ข้อดีของ NAS • NAS จะใช้งานได้ดีกับองค์กรที่ต้องการส่งไฟล์ไปให้กับหลาย ๆ Client ผ่านทางเน็ตเวิร์ก • ราคาถูกและง่ายต่อการใช้งาน • รองรับแพลทฟอร์มที่หลากหลาย ทั้ง Windows และ Unix
รูป การรองรับแพลทฟอร์มที่หลากหลายของNAS
ข้อเสียของNAS หากดึงข้อมูลออกจากอุปกรณ์จัดเก็บมากเกินไปจะส่งผลเสียต่อประสิทธิภาพของเครือข่าย การส่งถ่ายข้อมูลของ NAS ผ่านเครือข่ายไม่สามารถทำได้รวดเร็ว การรักษาความปลอดภัยในระบบ ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของเครื่อง NAS
สิ่งที่ต้องคำนึงในการเลือกใช้อุปกรณ์NASสิ่งที่ต้องคำนึงในการเลือกใช้อุปกรณ์NAS อุปกรณ์ทั้งหมดต้องรองรับโปรโตคอล DHCP อุปกรณ์ควรสนับสนุนโปรโตคอลต่าง ๆ อุปกรณ์ควรมีอินเทอร์เฟซและพอร์ตการเชื่อมต่อให้เลือกหลายรูปแบบ อุปกรณ์สามารถกำหนดผู้ใช้หรือกลุ่มผู้ใช้ มีเว็บอินเทอร์เฟซสำหรับเข้าไปจัดการและปรับแต่งค่า Configuration ต่าง ๆ
ความแตกต่างระหว่าง SAN กับ NAS
รูป ความแตกต่างระหว่าง SAN กับ NAS
แนวโน้มของNAS มีการคาดว่าระบบ NAS จะถูกลงเหมือนกับราคาของพีซี คาดว่าตลาดของอุปกรณ์ Nas จะเติบโตอย่างต่อเนื่อง
สรุป NAS เป็นทางเลือกที่นอกเหนือจากการใช้ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ โดยที่มีราคาถูก และง่ายต่อการใช้ NAS นี้ยังสามารถติดตั้ง ใช้งาน และดูแลได้ง่าย NAS ถูกออกแบบมาเพื่อให้รองรับการทำงานแบบรวมศูนย์ในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ NASถูกออกแบบมาเพื่อเข้ามาแทนที่การเชื่อมต่ออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลโดยตรงอย่าง Direct Attached Storage (DAS) SAN และ NAS ต่างเป็นเทคโนโลยีเพื่อช่วยเข้าถึงข้อมูลในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ อุปกรณ์ NAS จึงถูกออกแบบมาเพื่อชดเชยข้อเสียของ SAN ในเรื่องของราคาที่สูงมาก
คำถาม 1.NAS มีการส่งผ่านข้อมูลในรูปแบบใด 2.ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นจริงเกี่ยวกับNAS ก. การเชื่อมต่อใช้เทคโนโลยี Ethernet ข. มักให้บริการกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็นหลัก ค. โปรโตคอลสื่อสารที่ใช้คือ Network Protocol ง. ความเร็วส่วนใหญ่อยู่ที่ 100 Mbps หรือ 1 Gbps
คำถาม 3. บอกข้อแตกต่างของ NASและSAN มาอย่างน้อย2ข้อ 4. เพราะเหตุใด NAS จึงไม่เหมาะที่จะไว้ใช้รับส่งไฟล์ขนาดใหญ่มาก ๆ 5. NAS ยุคแรกพัฒนาขึ้นมาบนพื้นฐานของอะไร