1 / 28

การบริโภค

C O N S U M P T I O N. การบริโภค. บทที่ 2. อาจารย์กิตติ จรรยา วัฒน์. 2.1 การบริโภค. ความหมายของการบริโภค.

cole-obrien
Download Presentation

การบริโภค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. C O N S U M P T I O N การบริโภค บทที่ 2 อาจารย์กิตติ จรรยาวัฒน์

  2. 2.1 การบริโภค

  3. ความหมายของการบริโภค • การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองหรือบำบัดความต้องการของตนเอง และเพื่อนำมาเป็นปัจจัยในการผลิตสินค้าและบริการประเภทอื่นๆ อันจะตอบสนองความต้องการให้มากยิ่งขึ้นจากรายได้ที่มีอยู่อย่างจำกัด • การบริโภคแบ่งออกเป็น 2ลักษณะ • การบริโภคสินค้าคงทน (Durable Consumer Goods) • เช่น โทรทัศน์ เสื้อผ้า เครื่องประดับ และรถยนต์ • การบริโภคสินค้าไม่คงทน (Non-Durable Consumer Goods) • เช่น อาหาร - การบริโภค -

  4. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • รายได้ (Income) • เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด • ผู้บริโภคที่มีรายได้ต่างกันจะมีทางเลือกที่แตกต่างกัน • ความแตกต่างของรายได้ ทำให้ผู้บริโภคกำหนด ความต้องการที่แตกต่างกัน • ราคาสินค้า (Price) • สินค้าในตลาดมักมีความสัมพันธ์กัน • สินค้าบางชนิดใช้แทนกันได้ (Substitute goods) • สินค้าบางชนิดใช้ร่วมกัน (Complementary goods) - การบริโภค -

  5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • ปริมาณสินค้าที่หาได้ (Availability of Goods) • สินค้ามาก ผู้บริโภคก็มีโอกาสที่จะซื้อมากกว่า • ปริมาณสินค้า ขึ้นอยู่กับลักษณะของการผลิต คือ • วัตถุดิบ | ความซับซ้อนของกระบวนการผลิต | ค่าจ้างแรงงาน • การโฆษณา (Advertising) • มีผลต่อการกำหนดความต้องการในการบริโภคที่ ทำให้ผู้บริโภคไม่รู้ตัว • มักอยู่ในรูปของการชวนเชื่อ ชี้ให้เห็นภาพลักษณ์ที่ดีของสินค้า • สร้างแรงจูงใจด้วยการ ลด แลก แจก แถม หรือ ส่งชื้นส่วนจับรางวัล - การบริโภค -

  6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • นิสัยและความเคยชิน (Habit) • ทำให้ผู้บริโภคไม่กำหนดความต้องการในการบริโภคใหม่ • ไม่สนใจว่ามีสิ่งใหม่ หรือสถานที่ใหม่ๆ แบบเดียวกันเกิดขึ้น • ประเพณีหรือธรรมเนียมปฏิบัติ (Custom) • กำหนดความต้องการบริโภคให้สอดคล้องกับรุ่นก่อน • ประเพณีนิยมทำให้ไม่ได้สิ่งที่ต้องการแท้จริง • ไม่ได้รับความพอใจสูงสุดจากการใช้เงินที่มีอยู่ • เช่น ปีใหม่ต้องซื้อกระเช้าของขวัญ วันเกิดต้องซื้อเค้ก - การบริโภค -

  7. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • สมัยนิยม (Fashion) • ทำให้การตัดสินใจซื้อสินค้าไม่มีความเหมาะสมกับตัวผู้บริโภคอย่างแท้จริง • การเลียนแบบการบริโภค (Imitation) • เช่น การเลียนแบบการแต่งกาย การแต่งบ้าน • เลียนแบบบุคคลที่ตนเองชอบ หรือคนที่มีชื่อเสียง • ต้องการให้สังคมยอมรับ (Social Approval) • บริโภคสินค้าและบริการชั้นดี ยี่ห้อดัง ราคาแพง • อาจไม่ใช่ความต้องการที่แท้จริง และ อาจไม่ได้รับความพอใจสูงสุดจากการบริโภค - การบริโภค -

  8. 2.2 สิทธิของผู้บริโภค - การบริโภค -

  9. ความหมายของสิทธิของผู้บริโภคความหมายของสิทธิของผู้บริโภค • หมายถึง สิทธิมนุษยชนและการเคลื่อนไหวของผู้บริโภค ที่ทำได้บนพื้นฐานของความเป็นธรรมในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความยุติธรรมและมนุษยธรรมมากขึ้นในโลก โดยทุกคนมีส่วนร่วมกันอย่างทั่วถึง • เป็นสิทธิที่จะไม่หาประโยชน์จากบุคคล หรือระบบสังคมและเศรษฐกิจ • ผู้บริโภคต้องศึกษาหาความรู้ เพื่อไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบ - การบริโภค -

  10. สิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมายสิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมาย - การบริโภค -

  11. 2.3 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทย - การบริโภค -

  12. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้อง • สิทธิที่จะได้รับการโฆษณาหรือการ แสดงฉลากตามความเป็นจริง และ ปราศจากพิษภัยแก่ผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการอย่างถูกต้อง และ เพียงพอที่จะไม่หลงผิดในการซื้อสินค้า หรือรับบริการโดยไม่เป็นธรรม - การบริโภค -

  13. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้อง • การโฆษณาต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค หรือข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมส่วนรวม • ข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินความจริง • ข้อความที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ • ข้อความที่สนับสนุนโดยตรงหรือโดยอ้อมให้กระทำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม หรือนำไปสู่ความเสื่อมเสียต่อวัฒนธรรมของชาติ • ข้อความที่ทำให้เกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสียความสามัคคีของประชาชน - การบริโภค -

  14. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ • สิทธิที่จะเลือกซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยความสมัครใจของผู้บริโภค และปราศจากการชักจูงใจอันไม่เป็นธรรม • หลักเกณฑ์ในการเลือกซื้อสินค้า • ตรวจดูรายละเอียดฉลากสินค้า • ตรวจดูข้อเท็จจริง • ตรวจดูเงื่อนไข วิธีใช้ คำเตือน • ตรวจดูสภาพ คุณภาพ ปริมาณ - การบริโภค -

  15. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ • สิทธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพได้มาตรฐาน เหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกายหรือทรัพย์สิน • สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา • สิทธิที่จะได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ • ก่อนและหลังการทำสัญญา ควรปฏิบัติดังนี้ • ตรวจสอบสัญญา • เก็บรักษาพยานหลักฐาน • เก็บเอกสารสัญญา • ร้องเรียนเมื่อมีการละเมิดสิทธิ - การบริโภค -

  16. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย • สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค - การบริโภค -

  17. กฎหมายว่าด้วยอาหาร • ลักษณะของอาหารที่ไม่ปลอดภัย • อาหารไม่บริสุทธิ์ • มีสารหรือวัตถุเคมีเจือปน, ผลิต หรือเก็บไม่ถูกสุขลักษณะ, ผลิตจากสัตว์ที่เป็นโรคติดต่อ, บรรจุในภาชนะที่ทำด้วยวัตถุที่เป็นอันตราย • อาหารปลอม • ใช้วัตถุอื่นแทน หรือคัดแยกวัตถุที่มีคุณค่าออก, อาหารที่ผลิตขึ้นเทียม, ผสมหรือปรุงแต่ง เพื่อปกปิดความด้อย, มีฉลากลวงผู้ซื้อให้เข้าใจผิด • อาหารผิดมาตรฐาน • ไม่ได้คุณภาพตามที่กำหนด ไม่ปลอดภัยในการบริโภค หรือมีสรรพคุณไม่เป็นที่เชื่อถือ หรือมีคุณค่า หรือคุณประโยชน์ต่อร่างกายในระดับที่ไม่เหมาะสม - การบริโภค -

  18. กฎหมายว่าด้วยยา • พระราชบัญญัติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2530 แบ่งยาออกเป็น 9 ประเภท • ยาแผนปัจจุบัน • ยาแผนโบราณ • ยาสามัญประจำบ้าน • ยาอันตราย • ยาควบคุมพิเศษ • ยาบรรจุเสร็จ • ยาสมุนไพร • ยาใช้ภายนอก • ยาใช้เฉพาะที่ - การบริโภค -

  19. กฎหมายว่าด้วยเครื่องสำอางกฎหมายว่าด้วยเครื่องสำอาง • พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2535 ได้อธิบายความหมายของเครื่องสำอางว่า • เป็นวัตถุที่สำหรับใช้ทา ถูนวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทำด้วยวิธีอื่นต่อส่วนต่างๆของร่างกาย เพื่อความสะอาด สวยงาม หรือให้เกิดความสวยงาม และรวมทั้งเครื่องประทินผิวต่างๆ ด้วย - การบริโภค - • ก่อนเลือกซื้อผู้บริโภคควรสังเกต ดังนี้ • เครื่องสำอางที่ไม่ได้รับการขึ้นทะเบียน • เครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้ • เครื่องสำอางปลอม • เครื่องสำอางผิดมาตรฐาน

  20. กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย • พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย อธิบายคำว่า วัตถุอันตรายหมายถึง • วัตถุระเบิดได้ • วัตถุไวไฟ • วัตถุออกซิไดซ์และเปอร์ออกไซด์ • วัตถุมีพิษ • วัตถุที่ทำให้เกิดโรค • วัตถุกัมมันตรังสี • วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม • วัตถุกัดกร่อน • วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง • วัตถุที่ทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่งแวดล้อม - การบริโภค -

  21. กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย วัตถุอันตรายแบ่งเป็น 4 ชนิด - การบริโภค - • วัตถุอันตรายชนิดที่ 1 • การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนด • เช่น Calcium Hypochlorite หรือ Sodium Hydroxide อยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 • การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อน และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนด • เช่น Azamethiphos หรือ Benzyl Benzoate ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน รวมทั้ง สะเดา ข่า ตระไคร้หอม ที่ใช้ในการป้องกันศัตรูพืช

  22. กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย วัตถุอันตรายแบ่งเป็น 4 ชนิด - การบริโภค - • วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 • การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องรับใบอนุญาต • เช่น Azamethiphos ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ในบ้านเรือน, ก๊าซธรรมชาติ, ของเสียเคมีวัตถุ, ของเสียประเภทโลหะ และที่มีโลหะเป็นองค์ประกอบ เช่น ตะกั่ว ปรอท, และวัตถุอันตรายที่ใช้เป็นอาวุธเคมี • วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 • ห้ามผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง • เช่น Aldicarbหรือ Calome, Captafol, ซึ่งสาธารณสุขใช้ในการกำจัดแมลง และวัตถุอันตรายที่ใช้เป็นอาวุธเคมี เช่น Ricin

  23. กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 กำหนดให้รถทุกคันต้องประกันภัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ • ให้การคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ ประชาชนผู้ประสบภัยจากรถ • ให้ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงที กรณีบาดเจ็บ หรือช่วยเป็นค่าปลงศพกรณีเสียชีวิต • เป็นหลักประกันให้กับโรงพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาล • เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหาย • ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยและครอบครัว - การบริโภค -

  24. กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • กฎหมายนี้คุ้มครองเฉพาะความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ชีวิตร่างกายและอนามัยเท่านั้น ไม่รวมถึงความเสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สิน เช่น ค่าซ่อมรถ • รถที่ยกเว้นไม่ต้องทำประกันภัย • รถสำหรับเฉพาะองค์พระมหากษัตริย์ พระรัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รถของสำนักพระราชวัง • รถของส่วนราชการ รถยนต์ทหาร • รถของหน่วยงานธุรการขององค์กรและ องค์กรอิสระที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญ - การบริโภค -

  25. กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • ผู้ที่หน้าที่ต้องทำประกันภัยรถ ได้แก่ • เจ้าของรถผู้ครอบครองรถในฐานะผู้เช่าซื้อรถ • ผู้นำรถที่จดทะเบียนในต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศ • ผู้ที่ฝ่าฝืนไม่ทำประกันภัยรถต้องได้รับโทษปรับไม่เกิน 10,000 บาท • ผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายผู้ประสบภัยจากรถ ได้แก่ • ประชาชนทุกคนที่ประสบภัยจากรถ ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่ ผู้โดยสาร คนเดินเท้า • กรณีเสียชีวิต ทายาทของผู้ประสบภัยจะเป็นผู้ได้รับความคุ้มครอง - การบริโภค -

  26. กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • ค่าเสียหายเบื้องต้น • กฎหมายกำหนดให้บริษัทหรือกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย จะต้องจ่ายแก่ผู้ประสบภัย ภายใน 7 วัน โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ถึงความรับผิด • ค่าเสียหายส่วนที่เกินจากค่าเสียหายเบื้องต้น • บริษัทจะชดใช้ให้ภายหลังจากที่มี การพิสูจน์ความรับผิดตามกฎหมายแล้ว โดยบริษัทประกันภัยรถที่เป็นฝ่ายผิด ต้องเป็นผู้ชดใช้ - การบริโภค -

  27. กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ - การบริโภค - ≤50,000บ. 100,000บ. :1 ≤15,000บ. 35,000บ. :1 ≤50,000บ.

  28. จบบทที่ 2การบริโภค Next บทที่ 3 การคลัง

More Related