400 likes | 1.1k Views
ประวัติปูนซีเมนต์. จัดทำโดย. นาย ปิยพัฒน์ สมฤทัย รหัส 5210110357 นาย อานนท์ ฉลองชัยกุล รหัส 5210110775 นาย ศรัณย์ มะหะมัด รหัส 5210110810. ประวัติปูนซีเมนต์.
E N D
จัดทำโดย นาย ปิยพัฒน์ สมฤทัย รหัส 5210110357 นาย อานนท์ ฉลองชัยกุล รหัส 5210110775 นาย ศรัณย์ มะหะมัด รหัส 5210110810
ประวัติปูนซีเมนต์ ซีเมนต์ (Cement) โดยทั่วไปหมายถึง วัสดุประสานซึ่งสามารถยึดวัตถุชิ้นเล็กๆ เข้าด้วยกัน คำว่าซีเมนต์นี้ยังกินความหมายถึงสารซีเมนต์หลายประเภท แต่สำหรับงานด้านวิศวกรรมโยธาและการก่อสร้าง ซีเมนต์หมายถึงวัสดุผงละเอียดสีเทาหรือเทาเข้ม เมื่อผสมน้ำจะสามารถใช้เป็นวัสดุประสานยึดวัสดุประเภท อิฐ หิน และ ทราย เข้าด้วยกัน
สารซีเมนต์ประเภทยิปซัมและปูนขาวสารซีเมนต์ประเภทยิปซัมและปูนขาว สารซีเมนต์ที่ใช้ในยุคแรกๆ เป็นซีเมนต์ที่ไม่แข็งตัวในน้ำ (Nonhydraulic Cement) ได้มาจากปูนปลาสเตอร์(Plaster) ยิปซัม(Gypsum) หรือปูนขาว ยิปซัมเมื่อนำไปเผาจะสูญเสียน้ำในผลึกดังสมการ เมื่อผสมกับน้ำ ยิปซัมที่ผ่านการเผาจะรวมตัวกับน้ำและก่อตัว ข้อเสียสำหรับซีเมนต์ประเภทนี้คือไม่สามารถแข็งตัวในน้ำ เนื่องจากยิปซัมเป็นสารที่สามารถละลายน้ำได้
สารซีเมนต์ประเภทยิปซัมและปูนขาวสารซีเมนต์ประเภทยิปซัมและปูนขาว การใช้ปูนขาวในยุคแรกได้เริ่มในกรีก ชาวโรมันเรียนรู้การใช้ปูนขาวจากชาวกรีกและชาวอียิปต์ก็เริ่มใช้ปูนขาวในสมัยเดียวกันกับชาวโนมัน การแข็งตัวของปูนขาวเกิดจากการรวมตัวกับน้ำและการทำปฏิกิริยากับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ การแข็งตัวของเพสต์(Paste)หรือมอร์ตาร์ที่ทำมาจากปูนขาว จึงเกิดจากผิวภายนอกเข้าสู่ภายใน ชาวโรมันโบราณใช้วิธีผสมปูนขาวให้เข้ากันอย่างดีและกระทุ้งให้แน่น เพื่อให้สิ่งก่อสร้างเกิดความแข็งแรงและคงทน
การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ • ใน พ.ศ. 2299 จอห์น สมีตัน(John Smeaton) ได้ค้นพบคุณสมบัติทางเคมีของปูนขาวที่แข็งตัวได้ในน้ำ(HydraulicLime) ได้โดยการผสมวัสดุปอซโซลานกับปูนขาวที่เผาจากหินปูนที่มีส่วนประกอบของดินเหนียวผสมอยู่
การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ • ใน พ.ศ. 2339 เจมส์ ปาร์คเกอร์(Jame Parker)ได้พัฒนาปูนซีเมนต์ที่แข็งตัวได้ในน้ำ(Hydraulic Cement)โดยการนำหินปูนก้อนเล็กๆ ที่มีส่วนประกอบของซิลิกาและอลูมินามาเผาทำเป็นปูนซีเมนต์
การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ • ต้นแบบกระบวนการสำหรับผลิต ปูนซีเมนต์ได้คิดค้นโดย แอล เจ ไวแคต(L J Vicat) ในปี พ.ศ. 2356(ค.ศ.1813) โดยการผสมหินชอล์ก(Chalk) และดินเหนียวที่ผ่านการบดละอียด
การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ • โจเซฟ แอสดิน(Joseph Aspdin) ช่างก่อสร้างชาวเมืองลีดส์ได้จดสิทธิบัตร การผลิต “ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์” (Portland Cement) เมื่อ 21 ตุลาคมพ.ศ.2367 โดยใช้หินปูนผสมกับปูนขาว และดินเหนียวในกระบวนการผลิต
การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ • ใน พ.ศ. 2388 ไอแซค ชาลส์ จอห์นสัน ได้พัฒนาต้นแบบของกระบวนการ ผลิตปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ที่ใช้ ในปัจจุบันขึ้น
การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์การพัฒนาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ • ใน พ.ศ. 2429 เริ่มมีการใช้เตาเผาแบบหมุน(Rotary Klin)ทำให้สามารถผลิตปูนซีเมนต์ได้อย่างต่อเนื่อง • ใน พ.ศ. 2447 ประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ได้ออกมาตรฐานควบคุมคุณภาพปูนซีเมนต์
การใช้ปูนขาวและปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในประเทศไทยการใช้ปูนขาวและปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในประเทศไทย • การใช้ปูนขาวในงานทางด้านสถาปัตยกรรมและประติมากรรมของคนไทยมีตั้งแต่สมัยทวารวดี ช่วงพุทธศตวรรษที่ 11-12 สมัยอู่ทองราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 และพุทธศตวรรษที่ 18-19 ในสมัยสุโขทัย อยุธยา มาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ • การใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์มีขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์
การใช้ปูนขาวและปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในประเทศไทยการใช้ปูนขาวและปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในประเทศไทย • การผลิตปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ในประเทศไทยเริ่มต้นจาก แนวพระราชดำริของพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 และได้ทรงพิจารณาว่าด้วยการ ก่อตั้งบริษัทปูนซีเมนต์ไทยจำกัด
วัสดุปอซโซลานในประเทศไทยวัสดุปอซโซลานในประเทศไทย • วัสดุปอซโซลานที่ใช้ในประเทศไทยและนำมาใช้ในงานคอนกรีต ได้แก่ เถ้าลอย เถ้าแกลบ เถ้าเปาร์มน้ำมัน และเถ้าชานอ้อย
วัสดุปอซโซลานในประเทศไทยวัสดุปอซโซลานในประเทศไทย • การใช้เถ้าลอยหรือเถ้าถ่านหิน(Fly Ash)นิยมใช้กันมากในงานคอนกรีต เริ่มใช้ราวปี ค.ศ. 1937 • การใช้เถ้าลอยในการก่อสร้างชิ้นแรก ในประเทศสหรัฐอเมริกาคือการสร้างเขื่อน Hungry Horse ที่มลรัฐ Montana เมื่อปีค.ศ.1948
วัสดุปอซโซลานในประเทศไทยวัสดุปอซโซลานในประเทศไทย • งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้เถ้าลอยลิกไนต์ในไทยเริ่มเมื่อ 20 ปีที่แล้ว • งานก่อสร้างสำคัญที่ใช้เถ้าลอยในประเทศไทย ได้แก่ เขื่อนปากมูล เขื่อนขุนด่านชัยปราการ(เขื่อนคลองท่าด่าน)
วัสดุปอซโซลานในประเทศไทยวัสดุปอซโซลานในประเทศไทย • การใช้เถ้าแกลบในอดีตส่วนใหญ่ใช้ในการทำอิฐบล็อกเมื่อ ค.ศ.1923 • ในปี 1924 มีการจดสิทธิบัตรกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์และคอนกรีตที่ใช้ในเถ้าแกลบที่มีคาร์บอนต่ำที่ประเทศเยอรมัน • ในปี 1972 ที่สหรัฐอเมริกา Metha ได้เสนอผลงานการใช้ประโยชน์ของเก้าแกลบเป็นวัสดุปอซโซลาน
วัสดุปอซโซลานในประเทศไทยวัสดุปอซโซลานในประเทศไทย • ในปี ค.ศ.1973 ถึง 1978 ได้จดสิทธิบัตรเกี่ยวกับการใช้ซิลิกาฟูม • การใช้ เถ้าปาร์มน้ำมัน และเถ้าชานอ้อย ไม่มีงานใช้จริงเนื่องจากพึ่งเริ่มศึกษา และปริมาณของวัสดุไม่มากพอ