990 likes | 2.9k Views
܀ รบ . สร . รปภ. แห่งชาติ 2552. ܀ รบ . การรักษาความลับฯ 2544. วัตถุประสงค์สำคัญ. เพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน รปภ.ภาครัฐ เพื่อ เตรียม ความพร้อม ใน การยกระดับการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานต่อไป. เหตุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย /เป็นอุปสรรค. การรักษาความปลอดภัย (รปภ.) หมายถึง.
E N D
܀รบ.สร. รปภ. แห่งชาติ2552 ܀ รบ.การรักษาความลับฯ 2544
วัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน รปภ.ภาครัฐ เพื่อเตรียมความพร้อมในการยกระดับการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานต่อไป
เหตุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย /เป็นอุปสรรค การรักษาความปลอดภัย (รปภ.) หมายถึง 1. การดำเนินการใด ๆ เพื่อความอยู่รอด 2. การดำเนินการใด ๆ เพื่อให้พ้นไปจาก “ภัย” 3. “รปภ.”การดำเนินการเพื่อป้องกันความเสียหายต่อชีวิตทรัพย์สินหรือขจัดอุปสรรคที่อาจกระทบต่อการปฏิบัติงาน /ภารกิจ
การบริหารจัดการภัยคุกคามการบริหารจัดการภัยคุกคาม ปราบปราม ป้องกัน กฎหมาย, รณรงค์, รปภ. การสืบสวน (งานข่าว) หน่วยงาน/บุคคล ภาครัฐ + ปชช. การค้นหาตัวผู้ก่อการ มาตรการ รปภ. ป้องกันไม่ให้เกิดเหตุ ยุติการกระทำ (จับกุม)
2. รบ.รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2511” 3. รบ. รปภ.แห่งชาติ พ.ศ.2517 (บุคคล- เอกสาร - สถานที่) 4. รบ.รปภ.แห่งชาติ (สื่อสาร) พ.ศ.2525 (โทรคมนาคม) 5. รบ.รักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 6. รบ.สร.รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 (มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 11 มิ.ย.52…) ระเบียบรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ 1. รบ.สำนักคณะรัฐมนตรีว่าด้วย “การรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2499”(27 มิ.ย.2499) ภาคี SEATO (8 ก.ย.2497)
1. รปภ.บุคคล: สรรหาคนมีคุณสมบัติที่กำหนด ไว้ใจได้ (ป้องกันภัย : การจารกรรม วินาศกรรม บ่อนทำลาย) 2. รปภ. เอกสาร: ป้องกันเอกสารลับรั่วไหล ถูกจารกรรม (ใช้ รบ.การรักษาความลับฯ พ.ศ.2544 แทน “ข้อมูลข่าวสารที่มีคำสั่งไม่เปิดเผย”) 3. รปภ.สถานที่: ป้องกัน 1) จนท. ทรัพย์สิน ถูกวินาศกรรม2) ทรัพย์สิน ถูกโจรกรรม 3)ข้อมูลข่าวสารลับ ถูกจารกรรม มาตรการ รปภ.ตามระเบียบ รปภ.แห่งชาติ พ.ศ.2517
รบ.ว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 รบ.สร.ฯ ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 รบ.การรักษาความปลอดภัยของชาติปัจจุบัน (บุคคล)ข้อมูลข่าวสาร/เอกสาร(สถานที่)
การก่อการร้าย + อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๏รบ.ความลับ 44 ๏รปภ.52 ๏รปภ.ทางคอมพิวเตอร์ ยุค การ รปภ.ภาครัฐ 1. ยุคเก่า พ.ศ. 2499 - 2540 :ภัยทางอุดมการณ์ 2. ระยะเปลี่ยนผ่าน พ.ศ. 2541 - 2544 :ร่างรบ.การรักษาความลับของทางราชการ 3. ยุคใหม่ ห้วง 2544 - ปัจจุบัน : ประชาธิปไตย ๏ สิทธิมนุษย์ชน ๏ ธรรมาภิบาล ๏ ภัยคุกคามรูปแบบใหม่
܀กฎหมาย พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540 พรบ.รบ.บริหารฯ 2534 ܀ระเบียบ การรักษาความลับฯ 2544 สร.รปภ.แห่งชาติ 2552 ܀เป้าหมาย บุคคล + สถานที่ ข้อมูลข่าวสารลับราชการ ܀การกำกับ/ดูแล องค์การ รปภ. (2 หน่วย) องค์การ รปภ. (3 หน่วย) ܀คู่มือ/ คำแนะนำ มีแล้ว ยังไม่มี ܀เกณฑ์ปฏิบัติ กำหนดมาตรฐาน กำหนดมาตรฐาน ܀ ผู้รับผิดชอบ หน.หน่วยงานของรัฐ หน.หน่วยงานของรัฐ โครงสร้างการดำเนินงานรักษาความปลอดภัยของชาติ
การปฏิบัติงานตามมาตรการ รปภ.บุคคล
2. แนวคิด 1) ศึกษาอดีต เพื่อประเมินอนาคต 2) รับเข้าแล้ว เฝ้าดูพฤติการณ์ หาสิ่งบ่งชี้ว่า มีความเสี่ยงต่อความเสียหาย รปภ.บุคคล 1. วัตถุประสงค์ : เลือกคนดี + ไว้ใจได้ 3. รบ.กำหนด =มาตรการ1) ตรวจสอบประวัติ 2) อบรม 3) รับรองความไว้วางใจ 4) บันทึกทะเบียน = เป้าหมาย 1) ขรก.ใหม่ 2) ผู้เข้าถึงความลับ 3) ดำรงตำแหน่งสำคัญ (แบบพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง ใช้ตาม รปภ.2517 ไปก่อน)
1. เป็นหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐดำเนินการเอง 2. กลุ่มเป้าหมาย : 1)ผู้รอบรรจุฯ 2) ทดลอง /ฝึกงาน 3) ผู้ไม่เคยตรวจสอบ, ขอกลับเข้ารับราชการ 4) ผู้ที่จะดำรงตำแหน่งสำคัญ 5) ผู้รับทุน + มีข้อผูกพัน 3. กรณี : น่าสงสัย, ไม่น่าไว้วางใจ, เป็นภัยต่อ คมค. ให้รายงานองค์การ รปภ. 4. หลักเกณฑ์ วิธีการ เป็นไปประกาศ สร. (ยังไม่มี = ใช้ตาม รปภ.2517 ไปพลางก่อน) การตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคล
1. กลุ่มเป้าหมาย : รอบรรจุ, ทดลองงาน, ขอกลับ, จนท.ผู้ไม่เคยตรวจ, ได้มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่สำคัญ 2. ส่งรายชื่อ + สำเนาบัตร ปชช. + ชื่อบิดา-มารดา ส่งกองทะเบียนประวัติอาชญากร สตช. 3. พิมพ์ลายนิ้วมือ ณ สน.ตร.ท้องที่ตามภูมิลำเนาตรวจสอบประวัติอาชญากร + พฤติการณ์อื่น 4.อาจบันทึกประวัติตามแบบ รปภ.1 ส่ง อปภ.ตรวจสอบข้อมูลด้านความมั่นคง กรรมวิธีตรวจสอบประวัติ 1. ตรวจสอบเบื้องต้น
1. กลุ่มเป้าหมาย : 1) ผู้เข้าถึงชั้นลับมาก + ลับที่สุด + การรหัส 2) ผู้มีพฤติการณ์เป็นภัย คมค. 3) ให้ปฏิบัติงานสำคัญ 2. ให้รอประกาศ สร. ถ้าเห็นสมควรอาจให้ อปภ.ตรวจให้ โดยส่งแบบประวัติบุคคล + วัตถุประสงค์ + เคยตรวจให้แจ้งหน่วยตรวจด้วย 3. ระหว่างรอให้หน่วยฯ ทำหน้าที่ไปก่อน หากพบพฤติการณ์เป็นภัยให้ย้ายออกจากตำแหน่ง กรรมวิธีตรวจสอบประวัติ 2. ตรวจสอบโดยละเอียด
การปฏิบัติงานตามมาตรการ รักษาความปลอดภัยข้อมูลข่าวสารลับ
มาตรการ:1) ป้องกันไม่ให้ผู้มีอำนาจหน้าที่เข้าถึงความลับ 2) ผู้เข้าถึงต้องไว้ใจได้ + เข้าถึงตามชั้นที่อนุญาต รบ.ความลับ 44 วัตถุประสงค์: เพื่อป้องกันความลับรั่วไหล หลักการ: 1) มีผู้รับผิดชอบ 2) ละเอียดรอบคอบทุกขั้นตอน 3) รั่วไหล /สูญหาย = รู้
รบ.รปภ.2552 ลับมาก /ลับที่สุด = ตรวจโดยละเอียด ส่ง อภป.ตรวจฯ มิติสัมพันธ์ของ รบ.ฯ กับกฎหมายอื่น 1. รบ.ป้องกันตัวเองไม่ได้ เพราะเหตุรั่วเกิดจาก “คน” 2. รบ.รักษาความลับฯ เกี่ยวข้องกัน รปภ.บุคคล ( ข้อ 9 และข้อ 25(4) ) 3. รปภ.บุคคล = ใช้บังคับกับ “ผู้ที่เข้าถึงความลับ” 4. รปภ.บุคคล = เครื่องกรอง /สมควรนำไปใช้ประโยชน์ 5. รปภ.ทางคอมพิวเตอร์ และ รปภ.สถานที่
การ รปภ.ข้อมูลข่าวสารลับเป็นหน้าที่ ของหน.หน่วยงานของรัฐ ข้อ 7 ให้ หน.หน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่รักษาข้อมูลข่าวสารลับในหน่วยงานของตน แต่มอบอำนาจให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ตามกฎหมาย โดย... ๏ ต้องรักษาข้อมูลข่าวสารลับให้ปลอดภัย ๏ การให้ผู้ใดเข้าถึง/เปิดเผย ต้องระมัดระวัง ๏ กรณีที่จำเป็น ให้กำหนดเงื่อนไขการปฏิบัติให้เหมาะสมแก่กรณี โดยคำนึงถึงการรักษาความลับ และประสิทธิภาพตามระเบียบนี้
1 หน.หน่วยงานของรัฐ มอบหมายให้ จนท.ในสังกัด เข้าถึงข้อมูลข่าวสารลับ 3 2 4 5 นทบ.,/ผช.นทบ. ผู้เกี่ยวข้องในฐานะเจ้าของเรื่อง จนท.นำสาร ผู้อารักขาการนำสาร บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารลับ 5 กลุ่ม
1. กำกับดูแลการปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ 2. ออกคำสั่งแต่งตั้ง (ลำดับแรก) - มอบหมายหน้าที่ผู้ทำการแทน หน.หน่วยงานฯ - จนท.เข้าถึงชั้นความลับ - จนท.มีอำนาจกำหนดชั้นความลับ - นทบ., ผช.นทบ., จนท.นำสาร, ผู้อารักขาการนำสาร 3. ออกคำสั่งการปฏิบัติตามที่ระเบียบกำหนด - การส่งออกนอกหน่วยงาน - ระเบียบภายใน (ข้อ 20) - คณะ กก.ตรวจสอบ, สอบสวน, ทำลาย หน้าที่ของ หน.หน่วยงานของรัฐ
1. ข้อ 26 - ดำเนินการทางทะเบียน (รับ-ส่ง-บันทึก) - เก็บรักษาแบบเอกสาร+ขส.ลับในครอบครองให้ปลอดภัย - เก็บรักษาลายมือชื่อ นทบ.หน่วยอื่นที่ติดต่อกันประจำ - ประสานงานผู้ควบคุมทะเบียนความไว้วางใจ - อื่น ๆ (ตรวจสอบ, สอบสวน, ทำลาย) 2. ข้อ 27 - จัดหา ทขล.1- ทขล.2 - ทขล.3 - แบบเอกสาร (ใบปิดทับ, ใบตอบรับ, บันทึกการยืม, ใบรับรองการทำลาย) หน้าที่ของนายทะเบียนฯ/ ผช.นทบ.
1. ผลิตข้อมูลข่าวสารลับ, โต้ตอบเรื่องที่เป็นความลับ 2. สั่งให้เป็นข้อมูลข่าวสารลับ, กำหนดชั้นความลับ, ปรับชั้นความลับ (ผู้ใช้ดุลพินิจตัวจริง) 3. ให้เหตุผลประกอบชั้นความลับ 4. เก็บรักษาข้อมูลข่าวสารลับที่จัดทำขึ้น 5. กรรมการตรวจสอบ และอื่น ๆ ตามที่ได้รับแต่งตั้ง 6. รวบรวมข้อมูลข่าวสารลับเตรียมการทำลาย หน้าที่ของเจ้าของเรื่อง
1. รปภ.ข้อมูลข่าวสารลับตลอดเวลาที่นำออกนอกหน่วยงาน 2. เก็บรักษา ดูแลข้อมูลข่าวสารลับให้ปลอดภัย 3. จัดส่งให้แก่นายทะเบียนฯ/ผช.ฯ 4. ส่งให้นายทะเบียนฯ หรือ ทกท.ไม่ได้ ให้ส่งแก่ผู้รับตามจ่าหน้า 5. ส่งให้ผู้รับตามจ่าหน้าไม่ได้ ให้นำกลับเก็บรักษาในหน่วยงาน หรือเก็บไว้เอง แล้วนำส่งต่อไป จนท.นำสาร + ผู้อารักขาฯ
1.ต้องแสดงเครื่องหมายชั้นความลับ1.ต้องแสดงเครื่องหมายชั้นความลับ 2. ต้องให้เหตุผลประกอบชั้นความลับ 3.ต้องแสดงชื่อหน่วยงานเจ้าของเรื่องคุมชุดคุมจำนวนหน้าไว้ทุกหน้าบนมุมขวามือ 4.ต้องจดแจ้งจำนวนที่จัดขึ้นทั้งหมดในทขล.3 5. ต้องลงทะเบียนเมื่อมีการแจกจ่าย (ใน-นอกหน่วย) หรือได้รับมาจากหน่วยนอก การดำเนินการต่อข้อมูลข่าวสารเมื่อสั่งให้เป็น “ข้อมูลข่าวสารลับ”
6. นายทะเบียนฯ/ผู้ช่วยฯ เป็นผู้ลงทะเบียน 7. ต้องเก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย 8. ตรวจสอบทุก 6 เดือนเป็นอย่างน้อย 9. ต้องมีแผนปฏิบัติในเวลาฉุกเฉิน 10.ก่อนทำลายต้องขออนุญาตหน.หน่วยฯงาน+ตั้งกก.ทำลาย/ส่งหอจดหมายเหตุพิจารณา/ บันทึก ทขล.3 + แบบทำลาย(เก็บไว้ 1 ปี)
ประเด็นที่มักจะไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ : “คน” 1. หน.หน่วยงานของรัฐ ไม่แต่งตั้ง “ผู้ทำหน้าที่แทน” 2. ไม่ออกคำสั่งอนุญาตให้ 1) เข้าถึงชั้นความลับ 2) การกำหนดชั้นความลับ 3. ไม่แต่งตั้งนายทะเบียนฯ/ ผู้ช่วยนายทะเบียนฯ ณ หน่วยงานย่อย 4. ผู้เข้าถึงชั้นความลับไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ ในส่วนของตนที่ต้องรับผิดชอบ/ดำเนินการ
ประเด็นที่มักจะไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ : “ระเบียบ” 1.ไม่สั่งให้เป็นข้อมูลข่าวสารลับ ทั้ง ๆ ที่ควรจะเป็น 2. ไม่แสดงหน่วยงานเจ้าของเรื่อง ไม่คุมชุม ไม่คุมหน้า 3. การสำเนาเพิ่มเติมไม่แสดงข้อความ 1) ณ ต้นฉบับ 2) ฉบับที่ทำเพิ่มเติม 3) ไม่บันทึกใน ทขล.3 4. ไม่ตรวจสอบตามวงรอบที่กำหนด 5. ไม่กำหนดแผนปฏิบัติในเวลาฉุกเฉิน
3. ผู้บริหารมักไม่ให้ความสนใจ ความไม่เข้าใจ หลักการ-แนวคิด-กระบวนการรักษาความลับ ไม่กำกับดูแลการปฏิบัติ จึงไม่เป็นไปตามระเบียบ ปัญหาในการปฏิบัติตามระเบียบฯ 1. การแสดง เครื่องหมายชั้นความลับ การคุมชุด การคุมหน้า กรณีที่มีเอกสารจำนวนมาก 2. การดำเนินการทางทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับ (ทขล.) ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ + การรับ-ส่งทางทะเบียนอิเล็กทรอนิกส์
4. การสั่งให้เป็นข้อมูลข่าวสารลับ - ดุลพินิจในการจำแนกเป็นชั้นความลับระดับต่าง ๆ - การใช้สิทธิขอดูของประชาชน (เพื่อตรวจสอบ, ความโปร่งใส, ความยุติธรรม ฯลฯ) อาจไม่เห็นความจำเป็นในการสั่งให้เป็นข้อมูลข่าวสารลับ