1 / 59

ส้วมสาธารณะไทย

ส้วมสาธารณะไทย. ส้วมสาธารณะ.

dalia
Download Presentation

ส้วมสาธารณะไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ส้วมสาธารณะไทย

  2. ส้วมสาธารณะ • ในอดีตที่ผ่านมาส้วมเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมอนามัยได้เริ่มดำเนินการเรื่องนี้ โดยเฉพาะเรื่องการมีและการใช้ส้วมอย่างจริงจังตั้งแต่ปี พ.ศ.2503 ในรูปของโครงการพัฒนาอนามัยท้องถิ่นโดยมีจุดมุ่งหมายดำเนินการปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมหมู่บ้านในชนบท เพื่อลดอัตราป่วยและตายของประชาชนในชนบทอันมีสาเหตุเนื่องจากโรคระบบทางเดินอาหาร (พ.ศ.2503-2534) ใช้กลวิธีมุ่งพัฒนาองค์กรของชุมชนให้สามารถเป็นฐานรองรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากเจ้าหน้าที่ของรัฐไปสู่ประชาชน

  3. ส้วมสาธารณะ • องค์กรของชุมชนถูกจัดขึ้นในรูปของกรรมการพัฒนาอนามัย ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าอาวาส ครูใหญ่ และตัวแทนชาวบ้าน ซึ่งผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปรากฏว่าได้ผลดีประชาชนมีความเข้าใจถึงอันตรายของอุจจาระ และในขณะเดียวกันการพัฒนาก่อให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เหมาะสมภายใต้ความร่วมมือของชุมชนและองค์กรส่วนท้องถิ่น

  4. การศึกษาเรื่องสถานการณ์ส้วมสาธารณะในประเทศไทยการศึกษาเรื่องสถานการณ์ส้วมสาธารณะในประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า 1. สุขลักษณะของส้วมสาธารณะสภาพความสะอาดของห้องส้วมโดยรวมสะอาด ปานกลาง (ร้อยละ 58.9)ปัญหาที่พบมากที่สุดคือ มีกลิ่นเหม็น (ร้อยละ 34) พื้นภายในห้องส้วมเปียกเฉอะแฉะ(ร้อยละ 65.6) 2. ผลการตรวจการปนเปื้อนในห้องส้วมสาธารณะ โดยทำการ Swab หาเชื้อ Faecal coliform Bacteria ในห้องส้วม 7 จุด คือ พื้นห้องส้วม, ที่เปิดก๊อกน้ำที่อ่างล้างมือ, กลอนหรือลูกบิดเปิดปิดประตู (ด้านใน)ห้องส้วม , ที่รองโถส้วม และที่กดโถส้วม และโภปัสสวะ

  5. การศึกษาเรื่องสถานการณ์ส้วมสาธารณะในประเทศไทยการศึกษาเรื่องสถานการณ์ส้วมสาธารณะในประเทศไทย • ผลการตรวจพบว่า 1. ที่จับสายฉีดน้ำชำระ ตรวจพบเชื้อมากที่สุด คือ ร้อยละ 85.3 2. บริเวณพื้นห้องส้วม ตรวจพบเชื้อโรค ร้อยละ 50.0 3. ที่รองนั่งโถส้วม (แบบนั่งราบ) ตรวจพบเชื้อโรค ร้อยละ 31.0

  6. การศึกษาเรื่องสถานการณ์ส้วมสาธารณะในประเทศไทยการศึกษาเรื่องสถานการณ์ส้วมสาธารณะในประเทศไทย 3. การบริหารจัดการส้วมสาธารณะ เจ้าของสถานที่จะจัดให้บริหารส้วม สาธารณะแบบแยกเพศ (ร้อยละ 76.2) ส้วมสำหรับผู้พิการ (ร้อยละ 10.5) 4. พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการส้วมสาธารณะ ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นคนท้องถิ่น (ร้อยละ 63.4) พฤติกรรมของผู้ใช้ ส้วมส่วนใหญ่จะเลือกใช้ส้วมนั่งยองมากกว่านั่งราบ (ชักโครก) (ร้อยละ 83.6) เหตุผลเพราะไม่สะดวกใช้ส้วมนั่งราบ และส้วมนั่งราบ ไม่สะอาด ส่วนผู้ใช้ส้วมนั่งราบให้เหตุผลว่า เพราะความเคยชิน ปวด เข่า ใช้ส้วมนั่งยองแล้วลุกขึ้นยากและส้วมนั่งยองไม่สะอาด

  7. สถานการณ์ส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HASปี 2549-2555

  8. วัตถุประสงค์ 1. ประเทศไทยมีส้วมสาธารณะที่สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย ในปี พ.ศ.2556 2. คนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 70 ของผู้ใช้บริการในปี พ.ศ.2556

  9. เป้าหมาย 1. ส้วมสาธารณะ สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย ร้อยละ 90 ของ กลุ่มเป้าหมาย 2. คนไทยมีพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้อง ร้อยละ 90 แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 ปี 2549-2551 (กำหนดเป้าหมายร้อยละ 40) ระยะที่ 2 ปี 2552-2554 (กำหนดเป้าหมายร้อยละ 60) ระยะที่ 3 ปี 2555-2558 (กำหนดเป้าหมายร้อยละ90)

  10. เป้าหมายของการดำเนินงาน ปี 2556

  11. กลุ่มเป้าหมาย 1. แหล่งท่องเที่ยว หมายถึง แหล่งท่องเที่ยว 100 อันดับแรกของ ททท. ที่มีประชาชนไปเที่ยวมากที่สุด และอุทยานของกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์พืช 2. ร้านจำหน่ายอาหาร หมายถึง ร้านอาหารที่ผ่าน Clean Food Good Taste 3. ตลาดสด หมายถึง ตลาดกลุ่มเป้าหมายของโครงการตลาดสดน่าซื้อ

  12. กลุ่มเป้าหมาย 4. สถานีที่ขนส่งทางบกและทางอากาศ - สถานีขนส่งทางบก หมายถึง สถานีขนส่งของกรมการขนส่งทางบก บริษัทขนส่ง (บขส.) และสถานีรถไฟ - สถานีขนส่งทางอากาศ หมายถึง ท่าอากาศยานในกรมการขนส่งทางอากาศและท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย

  13. กลุ่มเป้าหมาย 5. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง หมายถึง สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงทั้งหมดของ - บริษัท บางจากปิโตเลียม จำกัด (มหาชน) - บริษัท ปทต. บริหารธุรกิจค้าปลีกจำกัด (jet jiffy) - บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) - บริษัท ปิโตรนาสรีเทล (ประเทศไทย) จำกัด - บริษัท ปตท จำกัด (มหาชน) - บริษัท เชลล์แห่งประเทสไทยจำกัด - บริษัท เชฟรอน (ไทย) จำกัด (คาลเท็กซ์)

  14. กลุ่มเป้าหมาย 6. สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในสังกัดในสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 7. โรงพยาบาล - โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน หมายถึง โรงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณะสุข จำนวนประมาณ 829 แห่ง - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/สอ. หมายถึง โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล และสถานีอนามัยประมาณ 10,000 แห่ง

  15. กลุ่มเป้าหมาย 8. สถานที่ราชการ หมายถึง ศาลากลาง ที่ว่าการอำเภอ เทศบาล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ สำนักงาน เขตกรุงเทพมหานคร ฯลฯ 9. สวนสาธารณะ หมายถึง สวนสาธารณะที่มีส้วมสาธารณะบริการ 10. ศาสนสถาน หมายถึง วัดในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จำนวน 37,075 แห่ง 11. ส้วมสาธารณะริมทาง หมายถึง ส้วมในพื้นที่สาธารณะของ หน่วยงานต่างๆ ทั่งภาครับและเอกชนที่จัดไว้บริการประชาชน

  16. กลุ่มเป้าหมาย 12. ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า/ดิสเคานต์สโตร์ - ศูนย์การค้า หมายถึง อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีพื้นที่ให้เช่าเพื่อประกอบการค้าปลีกไม่ต่ำกว่า 10,000 ตารางเมตร และมีร้านค้าย่อยประกอบธุรกิจไม่น้อยกว่า 50 ราย - ห้างสรรพสินค้าหรือการขายปลีกสินค้าทั่วไปอื่นๆ หมายถึง สถานประกอบการที่ดำเนินกิจการหลักเกี่ยวกับการขายสินค้าใหม่หลายประเภท ซึ่งสินค้าหลักไม่ใช่สินค้าประเภทอาหาร เครื่องดื่ม หรือยาสูบ แต่เป็นการขายสินค้าทั่วไป ประเภทสิ่งถัก สิ่งทอ เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องมือ

  17. กลุ่มเป้าหมาย เครื่องใช้หรือภาชนะประจำบ้าน เช่น โต๊ะ เครื่องครัว จาน และภาชนะต่างๆ เครื่องทำความสะอาด เครื่องโลหะ เครื่องสำอาง หนังสือและเครื่องเขียน เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ อุปกรณ์กีฬา โดยจัดแยกออกเป็นแผนก ตามประเภทของสินค้า แต่อยู่ภายใต้การบริหารงานเดียวกัน

  18. กลุ่มเป้าหมาย - ดิสเคานต์สโตร์ (Discount store) หมายถึง ร้านค้าที่ที่ดำเนินการขายปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคทั่วๆไป เน้นการขายสินค้าจำนวนมากในราคาถูก รวมถึงซุปเปอร์เซ็นเตอร์ หรือ ไฮเปอร์มาร์ท ซึ่งเป็นร้านค้าที่วางจำหน่ายสินค้าอุปโภคที่จำเป็น ร้อยละ 80 และสินค้าทั่วไป ร้อยละ 20 และยังมีบริการอื่นๆ เช่น ซ่อมรองเท้า ขายยา และศูนย์อาหาร

  19. กลุ่มเป้าหมาย ส้วมตามตัวชี้วัด - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (ตามตัวชี้วัดกรมอนามัย) หมายถึง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจำนวนประมาณ 9,762 แห่ง

  20. การดำเนินงาน 1. กรอบแนวคิดการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย 2. Strategy Map ยุทธศาสตร์ การพัฒนาส้วมสาธารณะไทยและการจัดการสิ่งปฏิกูล 3. วิธีดำเนินการภายใต้แต่ละกลยุทธ์ 4. การดำเนินงานภายใต้ 6 KEY FUNCTION 5. นโยบาย ปี 2556 6. แผนการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย ปี 2556

  21. การดำเนินงาน 7. รายละเอียดในแต่ละกิจกรรม 7.1 โครงการสุดยอดส้วมแห่งปี 2556 7.2 โครงการการสำรวจสถานการณ์ส้วมสาธารณะที่ได้มาตรฐาน HAS 7.3 โครงการรณรงค์ล้างส้วมพร้อมการรับวันสงกรานต์ (Big Toilet Cleaning Days) 7.4 การจัดตั้งชมรมคนรักส้วม/ส้วมยิ้ม 7.5 การตรวจประเมิน ยกระดับ และมอบป้ายสัญลักษณ์มาตรฐาน 8. การรายงานติดตามประเมินผล

  22. กรอบแนวคิดการพัฒนาส้วมสาธารณะไทยกรอบแนวคิดการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย รัฐบาล ค่าบริการ เงินกองทุน ภาคเอกชนลดราคาให้ มาตรการจูงใจ การควบคุมกำกับ วิธีการ/ความถี่ คนทำความสะอาด เจ้าของส้วม การทำความสะอาด เงินทุน การบริหารจัดการส้วม วัสดุอุปกรณ์ ตัวเรือนส้วม/ระบบเก็บกักและบำบัดสิ่งปฏิกูล โครงสร้างกายภาพ น้ำสะอาด/เพียงพอ สุขภัณฑ์/วัสดุอุปกรณ์ กระดาษชำระ HAS ส้วมสาธารณะ Happy & Healthy ความสวยงามของสภาพแวดล้อม สบู่ล้างมือ กระดาษเช็ดมือ เครื่องเป่า วิชาการเกณฑ์มาตรฐาน สุขาภิบาล วิศวกรรม/สถาปัตยกรรม พฤติกรรมของผู้ใช้ การซ่อมบำรุง กรมอนามัย การจัดการสิ่งปฏิกูล การใช้ส้วมอย่างถูกต้อง ฮวงจุ้ย อบจ./เทศบาล/อบต. กฎหมาย จิตสำนึกสาธารณะ วิธีการบำบัด การสูบ-การขนถ่าย สุขอนามัยส่วนบุคคล

  23. กลยุทธ์หลักในการดำเนินงาน 4 กลยุทธ์ ดังนี้ 1. กลยุทธ์การสร้างการมีส่วนร่วม (Creting Participation Strategy) 2. กลยุทธ์การสื่อสารสาธารณะ (Public Communication Strategy) 3. กลยุทธ์การใช้มาตรการทางสังคมและมาตรการทางกฎหมาย (Social and Law Enforcementn Strategy) 4. กลยุทธ์การพัฒนาวิชาการและการเรียนรู้ (Knowledge and Learning Strategy)

  24. วิธีดำเนินการภายใต้แต่ละกลยุทธ์ ดังนี้ • กลยุทธ์การสร้างกามีส่วนร่วม • กลยุทธ์การสื่อสารสาธารณะ • กลยุทธ์การใช้มาตรการทางสังคมและทางกฎหมาย • กลยุทธ์การพัฒนาวิชาการและการเรียนรู้

  25. การดำเนินงานภายใต้ 6 KEY FUNCTION 1. Surveillances 2. Research & Development 3. Consumer Protection 4. Founderalliance 5. Provider Support 6. Monitoring & Evaluation (M&E)

  26. นโยบาย ปี 2556 1. เสนอแผนมาบทพัฒนาส้วมสาธารณะไทยระยะที่ 3 (พ.ศ.2556-2559) ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 2. การพัฒนาส้วมสาธารณะไทยเน้นเป้าหมายตามตัวชี้วัด (กฟร.) - ส้วมโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน - ส้วมวัดในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 3. การดำเนินงานพัฒนาส้วมให้สอดคล้องกับการลดภาวะโลกร้อน ยึดหลักการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนสู่วิถีพอเพียง โดยการนำปัสสาวะและอุจจาระไปใช้ประโยชน์

  27. นโยบาย ปี 2556 4. โครงการปลดทุกข์ด้วยรอยยิ้มโถห้อยขาเสริมสุขผู้สูงวัย 5. โครงการสุขภาวะ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (การพัฒนาส้วมใน สถานศึกษา)

  28. โครงการ 1. โครงการปลดทุกข์ด้วยรอยยิ้มโถห้อยขาเสริมสุขผู้สูงวัย 2. โครงการสุดยอดส้วมแห่งปี 2556 3. โครงการสำรวจสถานการณ์ส้วมสาธารณะที่ได้มาตรฐาน HAS

  29. เกณฑ์สำหรับการพิจารณาสุดยอดส้วมแห่งปีเกณฑ์สำหรับการพิจารณาสุดยอดส้วมแห่งปี 1. ต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (HAS) 2. เกณฑ์การสรรหาสุดยอดส้วมแห่งปี 2556

  30. ใบสมัครสุดยอกส้วมแห่งปี 2556 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้มีการดำเนินงานโรงการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย เพื่อให้ส้วมสาธารณะไทยสะอาด เพียงพอ ปลอดภัย และผู้ใช้มีพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้อง ส่งใบสมัครพร้อมรูปถ่ายมาได้ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุก จังหวัดศูนย์อนามัยที่ 1-12 หรือสำนักงานเขตทุกเขต กรุงเทพมหานคร ชื่อสถานที่ส้วมสาธารณะ................................................................................ประเภท................................................................... ที่อยู่ปัจจุบัน..................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์หมายเลข................................................โทรศัพท์มือถือ.................................................................................................. ผู้รับผิดชอบดูแลทำความสะอาด (นาย/นาง/นางสาว).............................................................นามสกุล.............................................................................................. ผู้ส่งชื่อ(นาย/นาง/นางสาว).............................................................นามสกุล................................................................................... ตำแหน่ง........................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์หมายเลข................................................โทรศัพท์มือถือ.................................................................................................. ลงชื่อ.............................................................ผู้ส่ง (..................................) วันที่...........เดือน.........พ.ศ...........

  31. ความหมายของส้วม หมายถึง ที่ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ส้วมสาธารณะ หมายถึง สถานที่ที่ประชาชน สามารถเข้าไปใช้บริการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ได้ตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ โดยอาจเสียค่าบริการ หรือไม่เสียค่าบริการก็ได้ ส้วม

  32. ความสำคัญ และ นโยบายการพัฒนาส้วม

  33. ความสำคัญ จากอดีตสู่ปัจจุบัน ส้วมได้มีวิวัฒนาการไปตามยุคสมัย โดยจะเห็นการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ส้วมหลุม ส้วมนั่งยอง ส้วมนั่งราบ และส้วมคนพิการ สิ่งเหล่านี้เป็นผลจากการพัฒนาให้มีความเหมาะสมและอำนายความสะดวกแก่ผู้ใช้ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการออกแบบสุขภัณฑ์ให้ประหยัดน้ำมากขึ้น เพื่อเป็นการประหยัดน้ำและพลังงาน แต่ในส่วนของสุขอนามัยก็เป็นเรื่องของพฤติกรรมส่วนบุคคล จำเป็นต้องให้ความรู้ ความเข้าใจในการใช้ส้วมอย่างถูกวิธี และมีจิตสำนึกในการช่วยกันรักษาความสะอาด

  34. ความสำคัญ (ต่อ) การใช้ส้วมสาธารณะหรือส้วมที่บ้าน หากมีพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ไม่ถูกต้อง อาจเป็นสาเหตุหนึ่งของความเสี่ยงต่อสุขภาพ เนื่องจากส้วมเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคต่างๆ มากมาย อีกทั้งอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ เช่น 1. โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ 2. โรคติดเชื่อทางเดินอาหาร 3. โรคติดต่อทางการสัมผัสโดยตรง 4. โรคหนอนพยาธิ 5. อุบัติเหตุ

  35. นโยบายการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย กรมอนามัย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย โดยเน้น 3 เรื่อง คือ สะอาด เพียงพอ และปลอดภัย ดังนี้ 1. ประเทศไทยมีส้วมสาธารณะที่สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย ร้อย 60 ของกลุ่มเป้าหมาย 2. คนไทยมีพฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะอย่างถูกสุขลักษณะร้อยละ 60 ของผู้ใช้บริการ

  36. 1. แหล่งท่องเที่ยว 2. ร้านจำหน่ายอาหาร 3. ตลาดสด 4. สถานีขนส่งทางบกและทาง อากาศ 5. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง 6. โรงเรียน 7. โรงเรียน 8. โรงพยาบาล/โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 9. สถานที่ราชการ 10. สวนสาธารณะ 11. ศาสนสถาน 12. ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินการพัฒนาส้วมสาธารณะ

  37. วิธีดำเนินการ • การที่จะพัฒนามาตรฐานส้วมสาธารณะให้ถูกหลักสุขาภิบาลจะต้องดำเนินการ 3 องค์ประกอบ คือ โครงสร้าง การบริหารจัดการ พฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้อง

  38. กลยุทธ์ในการดำเนินงานกลยุทธ์ในการดำเนินงาน • การดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเกิดความยั่งยืน ควรใช้ 4 กลยุทธ์ในการดำเนินงาน คือ 1. การมีส่วนร่วม 2. การสื่อสารสาธารณะ 3. การใช้มาตรฐานทางสังคมและมาตรฐานทางการกฎหมาย 4. การพัฒนาวิชาการและการเรียนรู้

  39. เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศเกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศ 1.สะอาด (Health) 2.เพียงพอ(Accessibility) 3.ปลอดภัย (Safety)

  40. 1. สะอาด (Health) มี 9 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 • พื้นผนัง เพดาน โถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ ที่กดโถปัสสาวะสะอาดไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดีใช้งานได้

  41. 1. สะอาด (Health) (ต่อ) มาตรฐานที่ 2 • น้ำใช้สะอาด เพียงพอและไม่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุง ภาชนะเก็บกักน้ำ ขันตักน้ำสะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ • มาตรฐานที่ 3 • กระดาษชำระเพียงพอต่อการใช้ในงาน • ตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ (อาจจำ • หน่ายหรือให้บริการฟรี) หรือมีสาย • ฉีดน้ำชำระที่สะอาด อยู่ในสภาพดี • ใช้งานได้

  42. 1. สะอาด (Health) (ต่อ) 1. สะอาด (Health) (ต่อ) มาตรฐานที่ 4 • อ่างล้างมือ ก๊อกน้ำ กระจกสะอาดไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดีและใช้งานได้ • มาตรฐานที่ 5 • สบู่ล้างมือ พร้อมใช้ ตลอดเวลา • ที่เปิดให้บริการ

  43. 1. สะอาด (Health) (ต่อ) 1. สะอาด (Health) (ต่อ) มาตรฐานที่ 6 • ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปิด อยู่ในสภาพดี ไม่รั่วซึม ตั้งอยู่ในบริเวณอ่างล้างมือ หรือบริเวณใกล้เคียง • มาตรฐานที่ 7 • มีการระบายอากาศดี • และไม่มีกลิ่นเหม็น

  44. 1. สะอาด (Health) (ต่อ) มาตรฐานที่ 8 • สภาพท่อระบายสิ่งปฏิกูล และถังเก็บกักไม่รั่วแตกหรือชำรุด มาตรฐานที่ 9 • จัดให้มีการทำความสะอาด และระบบการควบคุมตรวจตรา เป็นประจำ

  45. 2. เพียงพอ (Accessibility) มี 2 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 • จัดให้มีส้วมนั่งราบอย่างน้อย 1 ที่ และมีราวจับเพื่อช่วยพยุงเวลานั่งหรือลุกขึ้นยืน

  46. 2. เพียงพอ (Accessibility) (ต่อ) มาตรฐานที่ 2 • ส้วมสาธารณะพร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ

  47. 3. ปลอดภัย (Safety) มาตรฐานที่ 1 บริเวณที่ตั้งส้วมไม่อยู่ที่ลับตา/เปลี่ยว มี 5 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 2 กรณีที่มีห้องส้วมตั้งแต่ 2 ห้องขึ้นไป ให้แยกเป็นห้องส้วมสำหรับชาย หญิง โดยมีป้ายและสัญลักษณ์ที่ชัดเจน

  48. 3. ปลอดภัย (Safety) (ต่อ) มาตรฐานที่ 3 ประตูที่จับเปิด-ปิด และกลอนประตู หรือที่ล็อคด้านในสะอาด อยู่ในสภาพดีใช้งานได้ มาตรฐานที่ 4 พื้นห้องส้วมแห้ง

  49. 3. ปลอดภัย (Safety) (ต่อ) มาตรฐานที่ 5 แสงสว่างเพียงพอ สามารถมองเห็นได้ทั่วบริเวณ

  50. พฤติกรรมการใช้ส้วมอย่างถูกต้องพฤติกรรมการใช้ส้วมอย่างถูกต้อง • พฤติกรรมการใช้ส้วมอย่างถูกต้อง ปฏิบัติดังนี้ 1. นั่งบนโถส้วม 2. ไม่ทิ้งวัสดุอื่นนอกจากกระดาษชำระลงในโถส้วม 3. ราดน้ำ หรือกดชักโครกทุกครั้งหลังการใช้ส้วม 4. ล้างมือทุกครั้งหลังการใช้ส้วม

More Related