1 / 41

มาตรฐานการปฏิบัติ หน้าที่ของ สนง.พมจ .

มาตรฐานการปฏิบัติ หน้าที่ของ สนง.พมจ. โดย มยุรี ยกตรี พัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่. ยอมรับ. แจ้งผลคะแนน. รายงาน ผลการดำเนินงาน. ส่งแบบประเมินตนเอง. 1. นโยบายขาด การตอกย้ำ. 8.ขาดการนิเทศ ติดตามอย่างต่อเนื่อง. 2.ผู้บริหารผู้ปฏิบัติงาน ยังไม่เข้าใจ. 3. การสื่อสาร

declan
Download Presentation

มาตรฐานการปฏิบัติ หน้าที่ของ สนง.พมจ .

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. โดย มยุรี ยกตรี พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่

  2. ยอมรับ แจ้งผลคะแนน รายงานผลการดำเนินงาน ส่งแบบประเมินตนเอง

  3. 1.นโยบายขาด การตอกย้ำ 8.ขาดการนิเทศ ติดตามอย่างต่อเนื่อง 2.ผู้บริหารผู้ปฏิบัติงานยังไม่เข้าใจ 3.การสื่อสาร จากกระทรวงฯ-พมจ. ยังไม่ชัดเจน 7.ไม่มี ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม สาเหตุ 4.การสื่อสาร จากพมจ.-บุคลากร มีน้อย-ไม่มี 6.ผู้บริหารผู้ปฏิบัติงาน ไม่เห็นความสำคัญ 5.วิธีการสื่อสาร ยังไม่ดี

  4. 1.ไม่มีใครหยิบ มาอ่าน 5.ทำงานตาม ภารกิจเร่งด่วน/มาก ตามเดิม ผล 2.ไม่มีการติดตาม 3.ไม่ได้นำมาใช้ เป็นแนวทางการทำงาน 4. คนลืมเรื่อง มาตรฐาน

  5. หน้าที่ของสนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดหน้าที่ของสนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ศึกษา วิเคราะห์และรายงานสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจเพื่อกำหนดนโยบายในระดับจังหวัดรวมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข 1 ประสานและจัดทำแผนโครงการและกิจกรรมด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของจังหวัดให้เป็นไปตามแนวนโยบายของกระทรวง 2 ส่งเสริมและประสานการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามภารกิจและเป้าหมายของหน่วยงานในกระทรวง 3 ส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำเนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัดทั้งภาครัฐและเอกชน  4

  6. หน้าที่ของสนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดหน้าที่ของสนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ส่งเสริม ประสานงาน และดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รวมทั้งส่งต่อให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีหน้าที่ในการจัดสวัสดิการสังคมตามกฎหมาย 5 เป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด 6 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้มีการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิชาการ และผลการปฏิบัติงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 7 ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย 8

  7. สภาพการทำงานใน สนง.พมจ. • ทำงานด่วน งานมาก ทุกคนต่างรีบทำงานให้เสร็จ • การสื่อสารระหว่างกลุ่มงานมีน้อย • การทำงานเป็นทีมมีน้อย • สำนักงานรกรุงรัง ไม่เป็นระเบียบ • ไม่มีตู้ใส่แฟ้มรวม • ไม่มีการจัดระบบแฟ้มสำนักงาน • เจ้าของแฟ้มเท่านั้นที่จะรู้ว่ามีแฟ้มอะไรอยู่ที่ไหน • ไม่มีที่วางหนังสือที่เป็นระเบียบ หาหนังสือไม่เจอ • มีหนูรบกวนมาก

  8. P : Public Sector M : Management Q : Quality A : Award PMQA คือ การพัฒนางานของเราให้ ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง งาน การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

  9. หมวด 2 การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 3 การให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PMQA การพัฒนางาน ให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง หมวด 7 ผลลัพธ์ หมวด 4 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ หมวด 6 การจัดการ กระบวนการ หมวด 5 มุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล

  10. ด้านโครงสร้างองค์การ 1 2 ด้านบุคลากร 3 ด้านวัสดุอุปกรณ์ 4 ด้านงบประมาณ มาตรฐาน พมจ. มิติที่ 1 ปัจจัยนำเข้า

  11. ด้านระบบและกระบวนการสื่อสารขององค์กรด้านระบบและกระบวนการสื่อสารขององค์กร 1 2 ด้านระบบและกระบวนการกำกับติดตามงาน ด้านระบบและกระบวนการประเมินผล 3 4 ด้านระบบและกระบวนการควบคุมภายใน มาตรฐาน พมจ. มิติที่ 2ด้านระบบและกระบวนการ

  12. ด้านวัฒนธรรมองค์การ 1 ด้านภาวะผู้นำ 2 มาตรฐาน พมจ. มิติที่ 3 วัฒนธรรมองค์กร

  13. 1 ด้านศึกษาวิเคราะห์ และรายงานสถานการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจเพื่อกำหนดนโยบายในระดับจังหวัด 2 ด้านการประสานและจัดทำแผนงานโครงการและกิจกรรมด้านการพัฒนาสังคม 3 ด้านการส่งเสริมและประสานการดำเนินงานตามภารกิจของกระทรวง 4 ด้านการส่งเสริมสนับสนุนองค์การเครือข่าย มาตรฐาน พมจ. มิติที่ 4 ตัวชี้วัดผลผลิตและผลลัพธ์

  14. ด้านการส่งเสริม ประสานงาน และช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคม 5 ด้านการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการด้านข้อมูล 6 7 8 มาตรฐาน พมจ. มิติที่ 4 ตัวชี้วัดผลผลิตและผลลัพธ์ ด้านการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ด้านการปฏิบัติงาน หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน แก่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

  15. ขั้นตอนการพัฒนามาตรฐานพมจ.ขั้นตอนการพัฒนามาตรฐานพมจ. 10.พัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำ 9.ขอรับรองมาตรฐานองค์การสวัสดิการสังคม 8.รวบรวมหลักฐานและจัดทำรายงาน 7.แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับจังหวัดอื่นบ้าง 6.ประชุม/ติดตามผล (กำหนดระยะเวลาตามความเหมาะสม) 5.มอบหมายผู้กำกับดูแลแต่ละหมวดตามความเหมาะสม 4.มอบหมายกำกับดูแล จัดทำแผนพัฒนามาตรฐาน หน่วยงาน 3.มอบนโยบาย/มอบหมายผู้รับผิดชอบมาตรฐานแต่ละข้อ 2.ประชุมชี้แจงให้บุคลากรทุกคนเข้าใจ/ประเมินหน่วยงานของตนเอง 1.ทำความเข้าใจมาตรฐาน ตัวชี้วัดและการเก็บหลักฐานประกอบให้เข้าใจ ทำความเข้าใจให้เห็นความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ 8 ข้อของพมจ.กับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

  16. กิจกรรมสำนักงานสะอาดด้วย 5 ส. ก่อนทำ หลังทำ

  17. กิจกรรมสุขสันต์วันเกิดกิจกรรมสุขสันต์วันเกิด

  18. กิจกรรมส่งเสริมการทำงานเป็นทีมกิจกรรมส่งเสริมการทำงานเป็นทีม

  19. ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อรองรับระบบฐานข้อมูลติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อรองรับระบบฐานข้อมูล

  20. กิจกรรมสื่อสารสร้างสรรค์กิจกรรมสื่อสารสร้างสรรค์

  21. การประชุมทำความเข้าใจมาตรฐานตัวชี้วัดแก่บุคลากรการประชุมทำความเข้าใจมาตรฐานตัวชี้วัดแก่บุคลากร /มอบนโยบาย

  22. มอบหมายผู้รับผิดชอบตามมิติต่างๆมอบหมายผู้รับผิดชอบตามมิติต่างๆ

  23. มอบหมายกำกับดูแล จัดทำแผนพัฒนามาตรฐานหน่วยงาน

  24. การประชุมติดตามผล

  25. แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับจังหวัดอื่นแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับจังหวัดอื่น

  26. รวบรวมหลักฐานและจัดทำรายงานรวบรวมหลักฐานและจัดทำรายงาน

  27. ขอรับรองมาตรฐานองค์การสวัสดิการสังคมขอรับรองมาตรฐานองค์การสวัสดิการสังคม

  28. พัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำพัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำ

  29. พัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำพัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำ

  30. พัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำพัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำ Click

  31. พัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำพัฒนาต่อเนื่องจนกลายเป็นงานประจำ

  32. ประโยชน์ต่อองค์กร/ระบบงานประโยชน์ต่อองค์กร/ระบบงาน • ทำให้สำนักงานน่าอยู่ มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและแฟ้มงาน เป็นระเบียบ สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว ทันตามกำหนดเวลา • ได้ความเป็นมาตรฐานในองค์กรของรัฐ เพื่อให้สามารถเทียบเท่า ได้กับบริษัทเอกชนต่าง ๆ ที่มีการจัดระเบียบและบริหารองค์กรเป็นอย่างดี • มีกฎเกณฑ์ กรอบ กำหนดการทำงานชัดเจนมากยิ่งขึ้น • ทำให้เป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานอื่น และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับองค์กรและเครือข่ายอื่น ๆ • พัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ • มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันได้ดีมาก

  33. ประโยชน์ต่อองค์กร/ระบบงานประโยชน์ต่อองค์กร/ระบบงาน • เกิดวัฒนธรรมองค์กรที่ดี • ทำให้เกิดการควบคุมภายในที่ดีและสามารถตรวจสอบกันได้ภายในองค์กรเพื่อลดความผิดพลาดในการทำงาน • มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่าง ๆ ซึ่งทั่วถึงทั้งองค์กรภายในหน่วยงานและกระจายสู่ภายนอก • มีการติดตาม การประเมินผลการทำงาน • มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในหน่วยงาน

  34. ประโยชน์ต่อบุคลากร สนใจ ใฝ่เรียนรู้ มากขึ้น รู้สึกว่าตนเองพัฒนา เก่งขึ้น กล้าพูด กล้าแสดงออก มีภาวะผู้นำมากขึ้น มีความภาคภูมิใจในผลงานที่ทำ เกิดการปฏิบัติเป็นนิสัยโดยอัตโนมัติ • มีความสุขในการทำงาน  บุคลากรมองเห็นทิศทางทำงานเชิงยุทธศาสตร์

  35. ประโยชน์ต่อบุคลากร (ต่อ) • มีการร่วมกันพิจารณาความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของบุคลากรที่มีความสามารถเหมาะสมกับงานชัดเจน • ทำให้มีการวางแผนพัฒนาบุคลากรภายในหน่วยงานและมีแผนที่จะปรับปรุงสำนักงานให้เข้ากับตัวชี้วัดต่าง ๆ ตามมาตรฐานได้ • ตัวบุคลากรมีการพัฒนาให้มีการทำงานอย่างเป็นระบบ มีการฝึกการสรุปงาน การทำงานเชิงบูรณาการกับกลุ่ม/ฝ่ายในสำนักงาน ฯ และรู้เขารู้เรามากขึ้น

  36. ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ/ประชาชนประโยชน์ต่อผู้รับบริการ/ประชาชน • มีระบบการให้บริการที่ดีแก่ประชาชนที่มาติดต่อราชการ เพราะการ มีมาตรฐานแล้วจะทำให้การทำงานของเจ้าหน้าที่ราบรื่นยิ่งขึ้น ทำให้ ประชาชนที่มาติดต่อก็สามารถเข้าถึงการบริการของทางราชการได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นกันเอง • ประชาชนพึงพอใจในการรับบริการจากสำนักงานฯ

  37. สามารถดาวน์โหลดเอกสารหรือข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สามารถดาวน์โหลดเอกสารหรือข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ • www.chiangmai.m-society.go.th • หัวข้อมาตรฐาน มาตรฐานพมจ. • หรือทางโทรศัพท์หมายเลข 053-112716 คุณนริศรา หรือ คุณตรีทิพยนิภา

  38. เป็นองค์กรที่ได้รับมาตรฐานเป็นองค์กรที่ได้รับมาตรฐาน องค์การสวัสดิการสังคม พัฒนาให้ได้มาตรฐาน พมจ. “คนสำราญ งานสำเร็จ”

More Related