1 / 71

ยินดีต้อนรับ

ยินดีต้อนรับ. คณะศึกษาดูงานจากจังหวัดอุตรดิตถ์. จังหวัดอุตรดิตถ์. เหล็กน้ำพี้ลือเลื่อง. จังหวัดอุตรดิตถ์. เมืองลางสาดหวาน. จังหวัดอุตรดิตถ์. บ้านพระยาพิชัยดาบหัก. จังหวัดอุตรดิตถ์. ถิ่นสักใหญ่ของโลก. จังหวัดตราด. เมืองเกาะครึ่งร้อย. จังหวัดตราด. พลอยแดงค่าล้ำ. จังหวัดตราด.

Download Presentation

ยินดีต้อนรับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ คณะศึกษาดูงานจากจังหวัดอุตรดิตถ์

  2. จังหวัดอุตรดิตถ์ เหล็กน้ำพี้ลือเลื่อง

  3. จังหวัดอุตรดิตถ์ เมืองลางสาดหวาน

  4. จังหวัดอุตรดิตถ์ บ้านพระยาพิชัยดาบหัก

  5. จังหวัดอุตรดิตถ์ ถิ่นสักใหญ่ของโลก

  6. จังหวัดตราด เมืองเกาะครึ่งร้อย

  7. จังหวัดตราด พลอยแดงค่าล้ำ

  8. จังหวัดตราด ระกำแสนหวาน

  9. จังหวัดตราด หลังอานหมาดี

  10. จังหวัดตราด ยุทธนาวีเกาะช้าง

  11. จังหวัดตราด สุดทางบูรพา

  12. ข้อมูลทั่วไป ตราด แปลว่า ทุ่งใหญ่ เป็นเมืองชายฝั่งภาคตะวันออกของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 315 กิโลเมตร มีเนื้อที่โดยประมาณ 2,819 ตารางกิโลเมตร ประมาณ ร้อยละ 7.72 ของพื้นที่ภาคตะวันออก และมีพื้นที่มากเป็นอันดับที่ 56 ของประเทศไทย

  13. จังหวัดตราด มีพื้นที่ 2,819 ตร.กม. 7 อำเภอ38 ตำบล263 หมู่บ้าน 34 อบต. 1 เทศบาลเมือง8 เทศบาลตำบล

  14. ภูมิอากาศ อากาศค่อนข้างร้อน อุณหภูมิระหว่าง 26 – 29 องศาเซลเซียส และมีฝนตกตลอดปี

  15. จังหวัดตราด ภูมิประเทศ

  16. แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง วัดบุปผาราม

  17. แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ เรือนำเที่ยว ดำน้ำดูปะการัง พายเรือ

  18. แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ เกาะหมาก, เกาะกูด, เกาะช้าง, ตลาดการค้าชายแดนบ้านหาดเล็ก

  19. สินค้าพื้นเมืองที่สำคัญสินค้าพื้นเมืองที่สำคัญ ยาเหลือง กะปิเกาะช้าง กุ้งแห้ง งอบน้ำเชี่ยว

  20. สินค้าพื้นเมืองที่สำคัญสินค้าพื้นเมืองที่สำคัญ ตังเมอบ พลอย สับปะรดตราดสีทอง ปลากะตังกรอบ

  21. จังหวัดตราด ประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุและเพศ ปี 2552 จำนวนประชากร220,543คน อัตราส่วน หญิง : ชาย1 : 1.01

  22. การประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายได้เฉลี่ย 66,803 บาทต่อคนต่อปี อันดับที่ 4 ของภาคตะวันออก เป็นอันดับที่ 20 ของประเทศไทย

  23. จังหวัดตราด นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 96.93

  24. สถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 6 แห่ง สถานีอนามัย 66 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชน 23 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 1 แห่ง

  25. ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขข้อมูลสถานบริการสาธารณสุข สถานบริการภาคเอกชน โรงพยาบาลขนาด 114 เตียง 1 แห่ง คลินิกแพทย์ 27 แห่ง

  26. ระบาดวิทยา ไข้เลือดออก จังหวัดตราด

  27. แผนภูมิที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคน ของจังหวัดตราด ปี2541-2551 จังหวัดตราด ประเทศไทย

  28. แผนภูมิที่ 2 จำนวนและอัตราป่วยไข้เลือดออก จ.ตราด ปี 2551 จำแนกรายอำเภอ

  29. แผนภูมิที่ 3

  30. แผนภูมิที่ 4

  31. แผนภูมิที่ 5 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามรายเดือน จังหวัดตราด ปี พ.ศ. 2541-2545

  32. แผนภูมิที่ 6 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามรายเดือน จังหวัดตราด ปี พ.ศ. 2546-2550

  33. แผนภูมิที่ 7 ร้อยละของผู้ป่วยไข้เลือดออก จ.ตราด ปี 2551จำแนกตาม Type N = 19 จาก รพ.กรุงเทพ-ตราด

  34. แผนภูมิที่ 8 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จังหวัดตราด ปีพ.ศ. 2551 จำแนกรายเดือนเปรียบเทียบค่ามัฐยฐานปีพ.ศ. 2545-2549 และค่าบ่งชี้การระบาด (X+2SD) มาตรการ 0,3,7,14,21+ULV ขาว เทา ดำ / เขียว เหลือง แดง

  35. แผนภูมิที่ 9 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก(เฝ้าระวัง)จังหวัดตราด ปีพ.ศ. 2551 จำแนกรายเดือนเปรียบเทียบค่ามัฐยฐานปีพ.ศ. 2545-2549 และค่าบ่งชี้การระบาด (X+2SD)

  36. แผนภูมิที่ 10 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดตราด ปี พ.ศ. 2551 เปรียบเทียบ จังหวัดในเขต 8,9 และประเทศ จังหวัดตราดอยู่อันดับที่ 21ของประเทศ ลำดับที่ 4 ของเขต 9

  37. มาตรการในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคมาตรการในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค

  38. การนำข้อมูลทางระบาดวิทยามากำหนดพื้นที่เสี่ยงการนำข้อมูลทางระบาดวิทยามากำหนดพื้นที่เสี่ยง

  39. เกณฑ์พิจารณาพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดไข้เลือดออก จ.ตราด • การเกิดโรคซ้ำซาก หมายถึง ในรอบ 5 ปี (2546-2550) จำนวนปีที่มีอัตราป่วยสูงกว่าค่า MEDIAN ของอำเภอ (2546-2550) • คะแนน ตามความถี่ของการระบาดในรอบ 5 ปี =1-5 คะแนน • แนวคิด : การระบาดเกิดทุกปี แสดงให้เห็นว่ามีปัจจัยแวดล้อมเอื้อต่อการระบาดหลายด้าน • อัตราป่วยปี 2551 (ม.ค.-ส.ค. 51) ลดลงต่ำกว่าอัตราป่วยต่ำสุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (2546-2550) • คะแนน ต่ำกว่า = 1, สูงกว่า = 0) ถ้าต่ำมากมีโอกาสระบาดมาก • แนวคิด : การที่อัตราป่วยลดลงต่ำสุดในรอบ 5 ปี แสดงให้เห็นว่า รูปแบบการระบาดจะมีโอกาสสูงในปีถัดไป

  40. เกณฑ์พิจารณาพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดไข้เลือดออก • อัตราป่วยปี 2551 สูงกว่า Median (2546-2550) ของอำเภอ แสดงว่ายังมีการระบาดอยู่ ปีถัดไปจะมีโอกาสน้อยกว่า • คะแนน สูงกว่า = 0, ต่ำกว่า = 1 • แนวคิด : อัตราป่วยที่ลดลงอย่างรวดเร็ว แสดงให้เห็นว่าจะยังมีโอกาสการระบาดอย่างรวดเร็วในปีถัดไป • ปี 2551 มีแพร่ไปยังพื้นทีหมู่บ้านต่าง ๆ มาก (มีจำนวนหมู่บ้านที่มีการระบาดมาก) • คะแนน ร้อยละของหมู่บ้านที่มีการระบาด < 15.21%= 4 ร้อยละของหมู่บ้านที่มีการระบาด > 15.22% - 26.01% = 3 • ร้อยละของหมู่บ้านที่มีการระบาด > 26.01% - 47.62% = 2 • ร้อยละของหมู่บ้านที่มีการระบาด > 47.62% - 58.42% = 1 • ร้อยละของหมู่บ้านที่มีการระบาด > 58.42% = 0 • แนวคิด : การระบาดสูงในหลายพื้นที่ สะท้อนการเกิดภูมิคุ้มกันในพื้นที่ ถ้ามีจำนวนหมู่บ้านที่ระบาดน้อย จะมีโอกาสระบาดในปีถัดไปมากกว่า ถ้ามีจำนวนหมู่บ้านที่มีการระบาดมาก จะมีโอกาสระบาดในปีถัดไปน้อยกว่า

  41. รวมคะแนนสูงสุด 11 คะแนน • 0 - 2 คะแนน โอกาสเสี่ยงน้อย • 3 - 5 คะแนน โอกาสเสี่ยงปานกลาง • 6 - 8 คะแนน โอกาสเสี่ยงสูง • 9 – 11 คะแนน โอกาสเสี่ยงสูงมาก

  42. แผนที่ พื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี 2552

  43. แนวทางการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคแนวทางการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค • จัดระบบการเฝ้าระวังและรายงานโรคที่รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน • พัฒนาการใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยาเพื่อการเตือนภัยทุกระดับ • วิเคราะห์สถานการณ์โรค/ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย(HI) • กำหนดพื้นที่เสี่ยง • รณรงค์ให้ดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์อย่างต่อเนื่อง(Golden period) • ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน • ดำเนินการควบคุมร่วมกับองค์กรท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย • พัฒนาทีม SRRT ให้สอบสวน ควบคุมโรค อย่างมีประสิทธิผล

  44. การจำแนกพื้นที่การระบาดการจำแนกพื้นที่การระบาด

  45. การจำแนกพื้นที่เสี่ยงจากค่าHIการจำแนกพื้นที่เสี่ยงจากค่าHI

  46. มาตรการ ดำ 1. สอบสวนโรค 2. พ่นเคมีภัณฑ์ (ปริมาณและคุณภาพ) จนกว่าค่า HI< 10 และ HI รัศมีบ้านผู้ป่วย = 0 - 0, 3, 7, 14, 21 วัน - 0, 1, 2, 10, 17, 24 วัน 2. สำรวจดัชนีค่า HI, CI และรณรงค์ทำลายแหล่งทุก 7 วัน จนถึง 1 เดือนหลังพบผู้ป่วยรายสุดท้าย - สำรวจทุกหลังคาเรือน โดย อสม.ทุก 7 วัน - สุ่มสำรวจโดย จนท. สอ./สสอ./สสจ. มีข้อเสนอให้สำรวจ * 30 หลังคาเรือนในหมู่บ้านที่มีหลังคาเรือน < 150 * ร้อยละ 20 ในหมู่บ้านที่มีหลังคาเรือน > 150 * 100 หลังคาเรือนในกรณีมีบ้าน > 500 หลัง 4. ให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ 5. ประชาคมหมู่บ้าน

  47. มาตรการ เทา 1. สำรวจดัชนีค่า HI, CI และรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์- สำรวจทุกหลังคาเรือนโดย อสม. (แดง ทุกสัปดาห์ เหลือง ทุก 2 สัปดาห์ เขียว ทุกเดือน) - สุ่มสำรวจโดย จนท. สอ./สสอ./สสจ. 2. ให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ 3. ประชาคมหมู่บ้าน

  48. มาตรการ ขาว 1. สำรวจดัชนีค่า HI, CI และรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ - สำรวจทุกหลังคาเรือนโดย อสม. (แดง ทุกสัปดาห์ เหลือง ทุก 2 สัปดาห์ เขียว ทุกเดือน) - สุ่มสำรวจโดย จนท. สอ./สสอ./จังหวัด 2. ให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ 3. ประชาคมหมู่บ้าน

  49. เอกสารหมายเลข 1 พื้นที่เกิดโรค ออกควบคุมโรคภายใน 3 ชั่วโมง รายงานผู้ป่วยทันที รายงานผู้ป่วยทันที รายงานผู้ป่วย ผังแนวทางการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก จ.ตราด ปี 2552 OPD IPD เวชกรรมสังคมเวชปฏิบัติฯ ศูนย์ระบาด คปสอ. สถานีอนามัย รายงานสอบสวนโรค(การระบาด) กิจกรรมการควบคุมโรค1.แจ้งข่าว อบต.,เทศบาล,ผู้นำชุมชนและ อสม.2.ทีม SRRT สอบสวนโรค3.ทีมพื้นที่ ดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ฯ4.พ่นเคมีภัณฑ์กำจัดยุงลาย 3 ครั้ง ใน 7 วันครั้งที่ 3 วันที่ 14 ( เครื่อง ULV )5.ค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้กับโรคไข้เลือดออก ย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์6.ดำเนินการขับเคลื่อนประชาคม ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก7. ประเมินค่า HI / BI วันที่ 14 รายงานให้ สสจ.ตราด ทราบภายใน 2 วัน โรงพยาบาล รายงาน 506 รง.สอบสวนโรค(เฉพาะราย) รง.ผู้ป่วยทันทีกรณีต่างคปสอ. รง.สอบสวนโรคเฉพาะรายและ รง.506 ภายใน 2 วัน ผู้ป่วย รายงานผู้ป่วยทันที กลุ่มงานควบคุมโรคสสจ.ตราด กรณีเปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยให้โรงพยาบาลเขียน รง.507เข้ามาที่งานระบาด สสจ.ตราด ภายใน 1 เดือน (รพช.) 2 เดือน (รพท.) ติดตาม/นิเทศ การดำเนินงาน ภายหลังการควบคุมโรคแล้วต้องไม่เกิด Second Generation ระยะเวลาทั้งหมดไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง สสจ.ตราด โทรศัพท์ สอบถามผู้ป่วยหรือญาติในพื้นที่

  50. การนิเทศติดตามระดับพื้นที่การนิเทศติดตามระดับพื้นที่ • รายชื่อผู้ป่วย • แผนที่แสดงการเกิดโรค • มาตรการที่ดำเนินการ • ค่าHI/BI/CI

More Related