390 likes | 567 Views
การพัฒนา HIVQUAL_t จังหวัดบุรีรัมย์. ศันสนีย์ ศรีวงษ์ชัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์. การพัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์. หลักวิชา (Principle). 3. เสนอทางเลือก - ถูกต้อง + เหมาะสม - มีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง. Empirical Decision. นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ.
E N D
การพัฒนา HIVQUAL_tจังหวัดบุรีรัมย์ ศันสนีย์ ศรีวงษ์ชัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์
การพัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์การพัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคเอดส์ หลักวิชา (Principle) 3. เสนอทางเลือก - ถูกต้อง + เหมาะสม - มีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง Empirical Decision นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ ประสบการณ์ ที่ต่าง ๆ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง สรุปบทเรียน (situation analysis) Act CHECK 1. ระบุปัญหา -ความสำคัญ/ประเด็นที่สนใจ 2. วิเคราะห์สาเหตุ - Root cause analysis (RCA) Policy Link เชื่อมนโยบาย ข้อมูลน่าจะมีประโยชน์ ผล วางระบบ (PLAN) Do เดิมมีอะไรบ้าง จะใช้ประโยชน์อะไรบ้าง
กระบวนการพัฒนา • โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินตนเอง ตามแบบประเมิน • อบรมการเก็บข้อมูล ปี 2549 ขยายทุกโรงพยาบาล • การนำเสนอข้อมูล HIVQUAL_t ที่จังหวัดมุกดาหาร เมื่อ ปี 2549
แนวทางในการดูแลผู้ติดเชื้อในโรงพยาบาลคูเมืองแนวทางในการดูแลผู้ติดเชื้อในโรงพยาบาลคูเมือง ผู้ติดเชื้อ ส่งต่อ OPD. พบแพทย์ CGS. แยกกลุ่ม ห้องปฏิบัติการ มาตรฐานการดูแลผู้ป่วย - Lab : CD4,CBC.,SGPT.,CXR. PV. , Pap smear - คัดกรอง TB. 100 % พบแพทย์ ส่ง CGS. ประสานงานตามกลุ่ม CD4 < 200 (OI / ARV) CD4 > 200 รักษาตามแนวทางการดูแลผู้ติดเชื้อ นัดติดตาม ตามโครงการ NAP ที่ OPD TB. Positive ส่งประสานงานกับทีมดูแล TB.
ระบบการประสานงานให้บริการผู้ติดเชื้อระบบการประสานงานให้บริการผู้ติดเชื้อ แพทย์ ดูแลโครงการ CARE,PHIMTขณะAdmit LR LAB LR แพทย์ผู้ดูแลผู้ติดเชื้อฯ สสจ. ตรวจ,ติดตามชันสูตร ประสานงานการตรวจ สสจ./รพศ. IPD ผู้รับบริการ สารสนเทศ ดูแลผู้ติดเชื้อ ที่นอน รพ.,Csg. โรงเรียน โครงการพิเศษ,ประสานงาน หน่วยงานภายนอก,ทักษะชีวิต,ให้ความรู้ เวชสถิติ TB อบต. PCU จัดทำข้อมูล,จัดเก็บข้อมูลรายงานประจำเดือน, ข้อมูลNAP, supportการทำงาน OPD เยี่ยมบ้าน ประสานงาน เภสัชกร ให้การปรึกษาเรื่องการใช้ยา,ติดตามประเมินการกินยา แพ้ยา ,ข้อมูลยาของผู้รับบริการ พยาบาลผู้ประสานงานเอดส์/รับผิดชอบคลินิกARV Csg.ให้คำปรึกษา,คัดกรองผู้ติดเชื้อ ติดตามดูแลผู้ติดเชื้อ
การพัฒนาคุณภาพบริการ SQIService quality ImprovementFor Aids ,TB and STI • โรงพยาบาลทุกแห่งได้งบประมาณสนับสนุน การพัฒนาคุณภาพบริการจาก สปสช. จังหวัดบุรีรัมย์ได้รับทั้งสิ้น 4,023,000 บาท และมีขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพบริการในโรงพยาบาลต่าง ๆ ดังนี้ • ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหา และกำหนดแนวทางในการพัฒนาบริการ ด้านเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินความต้องการ และกำหนดรูปแบบในการพัฒนา ตามบริบทของแต่ละแห่ง • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ติดตามประเมินโครงการ
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำข้อมูลมาใช้ ปี 2551วันที่ 18 -19 มิถุนายน 2551 • มีการดำเนินการศึกษา 7 เรื่อง • ปัจจัยส่งเสริมการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี โดยสมัครใจ (VCT) • ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวี • การศึกษาและติดตามผลการรักษา การเกิดภาวะ Lipodystrophy ในผู้ป่วยเอดส์ที่ใช้ยา Starudine เป็นส่วนประกอบ
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำข้อมูลมาใช้ ปี 2551วันที่ 18 -19 มิถุนายน 2551 • ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการล่าช้าของผู้ป่วย • ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ในหญิงอายุน้อยกว่า 18 ปี • ภาวการณ์เกิดโรควัณโรคในผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ โดย ความร่วมมือจาก กรมควบคุมโรค สปสช. สคร.5 โรงพยาบาลทุกแห่ง สสจ.บุรีรัมย์ วิทยากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จำนวนผู้ป่วยที่ทำการสุ่มจำนวนผู้ป่วยที่ทำการสุ่ม
ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ CD4 ( 68.6 %) ( 79.7 %) ( 63.2 %) ( 46.9%)
ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
จำนวนผู้ป่วยที่มีค่า CD4>350 ได้รับการตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน ( 56. 8 %) ( 48.5%)
จำนวนผู้ป่วยที่มีค่า CD4<350 ไม่ได้รับยาARV ได้รับการตรวจ CD4 ทุก2-4เดือน ( 20.1%) ( 36.0 %)
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง ( 65.4 %) ( 60.1%)
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 1 ครั้งใน 6 เดือน ( 23.4 %) (2.1%)
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง (13.7%) (1.3%)
จำนวนผู้ป่วย(CD4 <=200 หรือ ALC<=1000 ที่ได้รับยาป้องกัน PCP (87.9%) (87.9%)
จำนวนผู้ป่วย(CD4 <=100 หรือ ALC<=600 ที่ได้รับยาป้องกัน PCP (82.9%) (83.1%)
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับยา ARV (55.9%) (54.3%)
การให้ยาต้านไวรัส (81.9%) (72.8%) (เข้าเกณฑ์ หมายถึง CD4<=200, CD4=250 มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ ALC<1000)
การให้ยาต้านไวรัส-กินยาสม่ำเสมอการให้ยาต้านไวรัส-กินยาสม่ำเสมอ (97.0%) (95.5%)
ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้าน และได้รับการติดตาม (94.6%) (81.2%)
การคัดกรองวัณโรค จำนวนผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษาTB (7.7%) (11.8%)
จำนวนผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและได้รับการรักษาหรือติดตามจำนวนผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและได้รับการรักษาหรือติดตาม (98.8%) (98.8%)
จำนวนผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองวัณโรคจำนวนผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองวัณโรค (71.1%) (72.4%)
จำนวนผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/กำลังรักษาTBและได้รับการคัดกรองวัณโรค (91.8%) (82.0%)
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคและจำนวนที่ติดตามรักษาจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคและจำนวนที่ติดตามรักษา
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่อง Safe Sex (92.9%) (74.7%)
จำนวนคู่นอนประจำของผู้ป่วยที่ทราบผลการติดเชื้อ HIV (88.7%) (89.1%)
จำนวนคู่นอนประจำของผู้ป่วยไม่ทราบผลการติดเชื้อ HIV (8.0%) (89.1%)
จำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และได้รับแจกถุงยางอนามัยจำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และได้รับแจกถุงยางอนามัย (98.1%) (96.3%)
จำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัยจำนวนป่วยทั้งหมดที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัย (90.0%) (87.0%)
จำนวนป่วยที่สุ่มตัวอย่างและเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิสจำนวนป่วยที่สุ่มตัวอย่างและเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส (9.6%) (21.6%)
จำนวนป่วยที่มีเพศสัมพันธ์และเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิสจำนวนป่วยที่มีเพศสัมพันธ์และเคยได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส (31.0%) (7.3%)
จำนวนป่วยที่มีเพศสัมพันธ์และเคยได้รับการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ (60.6%) (60.8%) (44.6%) (29.6%) (44.6%) (5.7%)
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ (23.7%) (22.9%) (8.7%) (7.4%)