260 likes | 579 Views
Research Methodology ( Full Proposal ). Chayakorn Lotongkum 542132003. หัวข้องานวิจัย. การนำระบบ E-Learning เข้ามาปรับ ใช้ ใน กระบวนการพัฒนา บุคลากรในธุรกิจ ซีพี เฟรชมาร์ท. หัวข้อ. 1. ความเป็นมาและความสำคัญของเนื้อหา. 2. วัตถุประสงค์และปัญหาของการวิจัย. 3. กรอบแนวคิดและทษฏี.
E N D
Research Methodology (Full Proposal) ChayakornLotongkum 542132003
หัวข้องานวิจัย การนำระบบ E-Learning เข้ามาปรับใช้ ในกระบวนการพัฒนาบุคลากรในธุรกิจซีพี เฟรชมาร์ท
หัวข้อ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของเนื้อหา 2. วัตถุประสงค์และปัญหาของการวิจัย 3. กรอบแนวคิดและทษฏี 4. ผลงานทบทวนวรรณกรรม 5. ขอบเขตและวิธีวิจัย 6. ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย
สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ เรื่องง่ายๆ แค่นี้ต้องบอก ต้องอธิบายทุกขั้นตอน ต้องไปฝึกอบรมอีกแล้ว น่าเบื่อ !!! มีข้อมูลดีดี วิธีดีดี ก็ไม่บอก ทำให้เราต้องเสียเวลาคิดอีก อ่านเองก็ได้ จะมาพูดให้เสียเวลาทำไม ? เจ้านายต้องเรียกใช้เรา เพราะเรารู้คนเดียว มีทำไมต้องปันข้อมูลให้คนอื่น และถ่ายโอนข้อมูลให้กับองค์กรด้วย องค์กรไม่เห็นให้อะไรใหม่ๆกับพวกเราเลย ? ให้และแบ่งปันความรู้แล้วไม่เห็นมีอะไรแตกต่างจากคนที่ไม่ทำอะไรเลย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ในยุคปัจจุบันความสำเร็จขององค์กรมิใช่อยู่ที่การจัดระบบหรือกระบวนการภายในการนำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาใช้ในองค์กรเพียงอย่างเดียวเท่านั้น การจัดการความรู้(Knowledge Management) ภายในองค์กรเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญซึ่งหลายต่อหลายองค์กรได้เริ่มตระหนัก และให้ความสำคัญกับการสร้างและปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งความรู้ และการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาโดยการปลูกฝังให้พนักงานสามารถแสวงหาความรู้ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆได้ด้วยตนเอง Self Development (การพัฒนาตนเอง) อ้างอิง: อาภรณ์ ภู่วิทยพันธ์ (2546)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา Self-Developing improve
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปี พ.ศ. 2549 มีการปรับเปลื่ยนรูป ร้าน ซีพี เฟรชมาร์ท (CPFresh Mart) ปี พ.ศ. 2547 ซีพีเอฟ เปิดศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหาร ซี.พี.
สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ พนักงานต้องมีความรู้อะไรบ้างก่อนจะทำงานได้ ??? ร้านซีพี เฟรชมาร์ท ประกอบไปด้วยพนักงานจำนวน 2 คน หลักสูตร “มาตรฐานผู้ช่วยผู้ช่วยผู้จัดการร้านซีพีเฟรชมาร์ท” ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์ Fresh Mart Step ผู้จัดการร้านซีพี เฟรชมาร์ท ผู้ช่วยผู้จัดการร้านซีพี เฟรชมาร์ท การใช้โปรแกรม Smart pos Smart soft การจัดร้านและการจัดเรียงสินค้า มาตรฐานประจำร้าน CP Fresh Mart การสั่งสินค้า การรับสินค้า การจัดเก็บเอกสารและการเปิด ปิดร้าน มาตรฐานเรื่องการบริการ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ศูนย์การเรียนรู้พิษณุโลก ศูนย์การเรียนรู้กรุงเทพ ศูนย์การเรียนรู้ขอนแก่น ศูนย์การเรียนรู้ราชบุรี ร้านค้ามากกว่า 500 ร้าน (ทั่วประเทศ) เฉลี่ยภาคละ 100 ร้าน ศูนย์การเรียนรู้นครศรีธรรมราช
สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ พนักงานในร้านทุกคนต้องผ่านการอบรมหลักสูตร มาตรฐานผู้ช่วยผู้ช่วยผู้จัดการร้านซีพีเฟรชมาร์ท เป็นเวลา 4 วัน ณ ศูนย์การเรียน ตามภูมิภาคนั้นๆ เนื้อหาหลักสูตร ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์ Fresh Mart Step การจัดร้านและการจัดเรียงสินค้า การใช้โปรแกรม Smart pos Smart soft มาตรฐานประจำร้าน CP Fresh Mart การสั่งสินค้า การรับสินค้า การจัดเก็บเอกสารและการเปิด ปิดร้าน มาตรฐานเรื่องการบริการ (รัตติกาล เนตรสัก :2554) ศูนย์การเรียนรู้ประจำภาค
การอบรมหลักสูตร “มาตรฐานผู้ช่วยผู้จัดการร้าน ซีพี เฟรชมาร์ท” สามารถจัดการอบรมได้เฉลี่ยเดือนละ 1-2 ครั้ง โดยจัดอบรมรุ่นละไม่เกิน 15 คน เป็นเวลา 4 วัน ปัญหาขั้นต้น อาจระบุได้ว่าเป็นการอบรมที่ใช้เวลานาน พนักงานที่เข้ารับการอบรมจะต้องทิ้งร้านที่ตัวเองประจำอยู่ไปเข้ารับการอบรม โดยเหลือพนักงานเหลือเพียงคนเดียวที่ประจำการอยู่ ได้ทดลองจำลองศูนย์การเรียนรู้เพิ่มเติมในเป็นภาคละ 2 แห่ง การแก้ไขที่ผ่านมา ผลกระทบด้านค่าใช้จ่าย ขาดผู้เชี่ยวชาญ (รัตติกาล เนตรสัก :2554)
(ผู้ชำนาญการ รัตติกาล เนตรสัก :2554) ปัญหา • 1. เนื่องจากงานประจำที่ทำเป็นงานทำให้การบริการในร้านขาดประสิทธิภาพ และเกิดความล่าช้าในการบริการ เมื่อเหลืออยู่ 1 คน • 2. ไม่มีระบบการจัดการสารสนเทศเชิงพัฒนาบุคลากรที่เชื่อมโยงกับร้านซีพี เฟรชมาร์ท ทำให้พนักงานไม่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง • 3. ศูนย์การเรียนรู้ซีพี เฟรชมาร์ท ประจำภาคอยู่ห่างไกลในบ้างพื้นที่ ซึ่งเป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการเดินทาง รวมถึงเวลาที่สูญเสียระหว่างการเดินทางเพื่อไปทำการฝึกอบรม(ต้นทุนค่าเสียโอกาส =6 วันทำงาน) • 4. การพัฒนาบุคลากร ยังใช้การพัฒนาบุคลากรในรูปแบบเดิมๆ คือนั้งเรียนและทดสอบหลังเลิกเรียน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งและการแข่งขันในธุรกิจประเภทเดียวกันแล้วยังดูล้าสมัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย • 1. เพื่อทดลองปรับเปลี่ยนกระบวนการพัฒนาบุคลากรโดยนำระบบการจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้ • 2. เพื่อส่งเสริมให้พนักงานเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบE-Learning ก่อนเข้าอบรมจริง • 3. เพื่อทดลองและสร้างมาตรฐานใหม่ในการพัฒนาบุคลากรโดยการเริ่มต้นจากการพัฒนาตน
กรอบแนวคิดและทฤษฏี มีแนวคิดที่จะวิเคราะห์และทดลองปรับเปลี่ยนกระบวนการฝึกอบรม“มาตรฐานผู้ช่วยผู้จัดการร้าน ซีพี เฟรชมาร์ท”บางส่วน เพื่อให้พนักงานได้เรียนรู้ด้วยตนเองบางส่วน ณ ร้านค้าสะดวกซื้อ ซีพี เฟรชมาร์ท ที่ตนปฏิบัติงานอยู่ ก่อนเข้าทำการอบรมในหลักสูตร “มาตรฐานผู้ช่วยผู้จัดการร้าน ซีพี เฟรชมาร์ท” ณ ศูนย์การเรียนรู้ประจำภาคนั้นๆ โดยนำวิธีการเรียนรู้ในรูปแบบของการพัฒนาตนเอง หรือ Self-Developmentด้วยระบบ E-Learning ในรูปแบบของโปรแกรมจำลองร้านเสมือน (Virtual SimulatorShop) เข้ามาประยุกต์ใช้
ผลการทบทวนวรรณกรรม • 1. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง (Self-Developing) • 2. แนวคิดด้าน E-Learning 3. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ 4. แนวคิดด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศศาสตร์
ผลการทบทวนวรรณกรรม • แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง (Self-Developing) สุณี เชื้อสุวรรณ (2542) และ ทิพวรรณ ดวงแก้ว (2545) ได้กล่าวคล้ายกันว่า “การพัฒนาตนเอง” คือการดำเนินหรือการทำกิจกรรมใดๆ ก็ตามที่บุคคลได้ปฏิบัติแล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้, ทักษะ ความสามารถ ทัศนคติ และบุคลิกภาพในทางที่ดีขึ้น โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งการพัฒนาตนเองดังกล่าวอาจเป็นการริเริ่มของบุคคลหรือได้รับความสนับสนุนจากองค์กรก็ได้ Summary • งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการวิจัยเชื่อมโยงกับการพัฒนาบุคลากร โดยการยึดหลัก “การพัฒนาตน” (Self-Development) เพื่อที่บุคคลนั้นจะสามารถทำกิจกรรมใดๆเพื่อเพิ่มพูนทักษะ โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ โดยนำระบบสารสนเทศเข้ามาเป็นสื่อกลางในการพัฒนา
ผลการทบทวนวรรณกรรม • แนวคิดด้าน E-Learning งานวิจัยชิ้นนี้ได้ยึดหลักการของ ถนอมพร,2545 ทั้งหมดโดยเลือกการทำวิจัยโดยยึด สื่อหลัก เป็นมิติและเครื่องมือในการสอน โดยมีมิติของผู้เรียนคือ ผู้เรียนทางไกล (Distant Learners) และใช้องค์ประกอบองค์ E-Learningทั้ง 4องค์ประกอบคือ 1. เนื้อหา 2. ระบบจัดการายวิชา 3. โหมดสื่อสาร 4. แบบทดสอบ มาเป็นเครื่องมือในการจัดทำระบบ E-Learning เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้ามาเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545:5)
ผลการทบทวนวรรณกรรม แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Summary งานวิจัยนี้ได้นำเอาหลักการของ Nonaka and Takeuchi, 1995ใน กิจกรรมที่ 4 การจัดการความรู้ควบคู่ไปกับการพัฒนาสินค้า หรือรูปแบบการทำงาน เข้ามาประยุกต์ใช้ประกอบการวิจัยเนื่องจากมองว่าบุคลากรใน ธุรกิจซีพี เฟรชมาร์ท ต้องมีองค์ความรู้ควบคู่ไปกับการทำงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิผลที่ของงานโดยมีเป้าหมายที่การบริการคือการตอบสนองของลูกค้าเป็นหลัก ดังนั้นองค์ความรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ หรือความรู้ที่ไม่เปิดเผย (Tacit Knowledge) จะถูกรวบรวมมาเป็นความรู้ที่เปิดเผย (Explicit Knowledge) โดยผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้รวบรวมความรู้นั้นมาส่งมอบให้แก่ผู้ออกแบบระบบสารสนเทศเป็นผู้ออกแบบและสร้างความรู้นั้นให้ออกมาเป็นความรู้ที่สามารถจับต้องได้ ในรูปแบบของ Electronic Knowledge เพื่อเผยแพร่ความรู้นั้นต่อไปยังกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ช่วยผู้จัดการร้านซีพี เฟรชมาร์ท ที่ปฏิบัติงานประจำร้าน
ผลการทบทวนวรรณกรรม แนวคิดด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศศาสตร์ • กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และจำลอง ครูอุตสาหะ (2541) ได้กล่าวถึงการพัฒนาระบบงานสารสนเทศในแนวทางการแก้ปัญหา Frederick Taylor ที่เรียกว่า Scientific Management ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนดังนี้ • 1. Feasibility Study เป็นขั้นตอนการประเมินต้นทุนของทางเลือกต่างๆ ในการพัฒ • 2. Requirement Collection and Analysisนัเก็บรวบรวมความต้องการต่างๆ จากผู้ใช้ • 3. Design นำเอาปัญหาและความต้องการทางด้านต่างๆ มาใช้ในการออกแบบ • 4. Prototypingส่วนต่างๆ ที่ได้ออกแบบไว้ จะถูกนำมาพัฒนาต้นแบบของระบบงาน • 5. Implementation เป็นการนำระบบสารสนเทศที่พัฒนาเสร็จเรียบร้อยไปทดลองใช้ • 6. Validation and Testing เป็นการตรวจสอบ และประเมินความถูกต้องของระบบ • 7. Operation เริ่มนำข้อมูลต่างๆมาใช้จริง Summary • งานวิจัยชิ้นนี้ได้ยึดหลักการของ กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และจำลอง ครูอุตสาหะ (2541) มาทำการพัฒนา เพียงแต่ผู้วิจัยไม่ได้เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศเอง เพียงแต่เป็นผู้กำกับดูแลและนำระบบนั้นมาวิเคราะห์ โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาบุคลากร และผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศเป็นผู้พัฒนาระบบ
ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตเนื้อหา ส่งเสริมให้พนักงานในระดับผู้ช่วยผู้จัดการร้าน เรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Developing) ในรูปแบบการเรียนรู้ในระบบอิเล็กทรอนิคส์แบบเสมือนจริงด้วยโปรแกรมจำลองร้านซีพีเฟรชมาร์ท (E-Learning simulator) ก่อนเข้ารับการพัฒนาฝึกอบรมในหลักสูตรมาตรฐาน โดยระบบการเรียนรู้ในระบบอิเล็กทรอนิคส์แบบเสมือนจริงด้วยโปรแกรมจำลองร้านซีพีเฟรชมาร์ทนั้นจะนำเสนอในรูปแบบของ E-Learning Courseware ซึ่งจะเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการบริการ (CP Fresh mart Step), ความรู้ผลิตภัณฑ์ (Product Knowledge)และมีการทดสอบด้วยแบบฝึกหัด (Post test) หลังจากการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยพนักงานจำเป็นต้องนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ด้วยตนเองดังกล่าวมาเข้าทดสอบจริง (Final Test) อีกครั้งในการฝึกอบรมหลักสูตรมาตรฐานผู้ช่วยผู้จัดการร้านซีพีเฟรชมาร์ท
ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานในระดับผู้ช่วยผู้จัดการร้าน ในร้านซีพี เฟรชมาร์ท จำนวน 75 สาขาในเขตภาคเหนือ ซึ่งมีพนักงานจำนวน 120 คน แต่ในการศึกษาครั้งนี้จะเจาะลงไปยังกลุ่มพนักงานเข้าใหม่ โดยคิดจากอัตราเฉลี่ยการเข้าออกของพนักงานจำนวน 8% ซึ่งคิดเป็นประมาณ 10 คนต่อเดือน
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล ขอบเขตการวิจัย ขั้นเตรียมการและขั้นออกแบบ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ถึงความต้องการของผู้เชี่ยวชาญในด้านของเนื้อหาของบทเรียนที่นำไปใช้ในการสอนในหัวข้อดังกล่าวโดยคัดเลือกบทเรียนบางส่วนที่สามารถเรียนรู้ทางไกลผ่านระบบ E-Learning ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลังจากนั้นผู้ศึกษาจึงนำข้อมูลดังกล่าวมาออกแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิคส์โดยใช้เครื่องมือที่เป็นซอฟต์แวร์พัฒนาในรูปแบบจำลองเสมือนจริง โดยผู้ศึกษามีหน้าที่ควบคุมและกำกับดูแลผู้พัฒนาระบบอีกครั้ง ขั้นปรับปรุงแก้ไข ข้อมูลจากการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบจำลองร้านเสมือนจริง สามารถหาได้จากผลสอบที่เปรียบเทียบเชิงสถิติของการเรียนรู้ผ่านห้องเรียน กับ การเรียนผ่านระบบ E-Learning รวมทั้งการประเมินความคิดเห็นต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียน โดยใช้กลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มในการเก็บข้อมูล
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัยประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย • 1. ได้รับการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบและนำออกมาใช้ในรูปแบบของ E-Learning Simulator • 2. พนักงานเกิดการเรียนรู้และพัฒนาผ่านช่องทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Developing) • 3. ลดระยะเวลาในการอบรมหลักสูตร “มาตรฐานผู้ช่วยผู้จัดการร้าน ซีพี เฟรชมาร์ท ให้สั้นลง
พลังงาน พลังคน Thank You