570 likes | 2.25k Views
หน่วยที่ 7. การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน. ตอนที่ 7.1 การเลี้ยวเบน (Diffraction). การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว การเลี้ยวเบนจากช่องกลม การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวคู่ เกรติงการเลี้ยวเบน การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์โดยผลึก.
E N D
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
ตอนที่ 7.1 การเลี้ยวเบน (Diffraction) • การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว • การเลี้ยวเบนจากช่องกลม • การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวคู่ • เกรติงการเลี้ยวเบน • การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์โดยผลึก
การเลี้ยวเบน (diffraction) เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านช่องเล็กยาวหรือรูเล็ก หรือเคลื่อนที่ไปกระทบขอบคม ซึ่งที่ขอบคมจะทำหน้าที่เป็นเสมือนแหล่งกำเนิดคลื่นอีกต่อหนึ่งตามหลักของฮอยเกนส์ (the Huygens principle ) การเลี้ยวเบนก็จะยิ่งมีค่ามากขึ้นถ้าขนาดของช่องมีค่าน้อยกว่าความยาวคลื่นมากๆ
การเลี้ยวเบนแบบเฟรส์เนลการเลี้ยวเบนแบบเฟรส์เนล การเลี้ยวเบนฟราวน์โฮเฟอร์ ใน physics II สนใจกรณีนี้เท่านั้น (a) (b)
1. การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว แบ่งช่องเล็กยาวออกเป็นสองส่วน ระยะต่างวิถีของคลื่น 1 กับคลื่น 3 & คลื่น 2 กับคลื่น 4 เท่ากับ และถ้า (สมนัยกับความต่างเฟส เรเดียน หรือ 180 องศา) การแทรกสอดแบบหักล้างกัน
แบ่งช่องเล็กยาวออกเป็นสี่ส่วนแบ่งช่องเล็กยาวออกเป็นสี่ส่วน เงื่อนไขการเกิดการแทรกสอดแบบหักล้างคือ แบ่งช่องเล็กยาวออกเป็นหกส่วน แบ่งช่องเล็กยาวออกเป็น2mส่วน เงื่อนไขการเกิดการแทรกสอดแบบหักล้างคือ เงื่อนไขการเกิดการแทรกสอดแบบหักล้างคือ 1. การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว
1. การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว เงื่อนไขการเกิดริ้วมืด y1 โดยที่
องศา เนื่องจาก สำหรับ เซนติเมตร ตัวอย่าง แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากที่มีช่องเล็กยาวความกว้าง 0.1 มิลลิเมตร จงหา (a) มุมของตำแหน่งมืดแรก (b) ตำแหน่งมืดที่สองอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางริ้วสว่างที่ตรงกลางเท่าไร กำหนดให้ช่องเล็กยาวและฉากห่างกัน 3 เมตร
1. การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว หรือ แผนภาพเฟเซอร์สำหรับแหล่งกำเนิดคลื่นแสงอาพันธ์จำนวนมาก ปลายของเฟเซอร์แต่ละตัวจะอยู่ตามแนวเส้นโค้งรัศมี R
ความเข้มของริ้วเลี้ยวเบน ณ ตำแหน่งทำมุม กับเส้นผ่านกึ่งกลางช่องเล็กยาว กำหนดให้เป็น ซึ่ง นั่นคือ เมื่อ คือความเข้มสูงสุดที่ริ้วกึ่งกลาง แทนค่า ตำแหน่งที่ทำให้ มีค่าน้อยที่สุด (เท่ากับศูนย์) เมื่อ 1. การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว
การเกิดแถบสว่างทุติยภูมิจะเกิดระหว่างริ้วมืดสองริ้วที่ติดกัน จึงจะใช้ค่าประมาณว่า ริ้วสว่างทุติยภูมิเกิด ณ ตำแหน่งกึ่งกลางริ้วมืดที่ติดกัน จากสมการ 7.10 จะเห็นว่าแถบสว่างทุติยภูมิเกิดเมื่อ มีค่าเท่ากับ ตัวอย่างจงหาอัตราส่วนระหว่างความเข้มของแถบสว่างทุติยภูมิ (secondary maxima)ต่อความเข้มของแถบสว่างตรงกลางจากรูป
แหล่งกำเนิดคลื่นแสงอยู่ห่างกันริ้วสว่างตรงกลางแยกออกจากกันได้แหล่งกำเนิดคลื่นแสงอยู่ห่างกันริ้วสว่างตรงกลางแยกออกจากกันได้ แหล่งกำเนิดคลื่นแสงอยู่ใกล้กันริ้วสว่างซ้อนทับกัน กำลังแยกของช่องเล็กยาวเดี่ยว 1. การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว ลอร์ด เรย์ลี (Lord Rayleigh) ได้ให้คำนิยาม กำลังแยก (resolving power) ว่าเป็นมุมที่เล็กที่สุดที่รองรับคลื่นสองขบวนที่มาจากจุดกำเนิดที่อยู่ไกลมากสองจุด แล้วเกิดริ้วเลี้ยวเบนที่แยกกัน ซึ่งมุมนี้ก็คือ มุมเล็กที่สุดรองรับด้านที่ลากจากตำแหน่งกึ่งกลางริ้วสว่างจากแหล่งกำเนิดแสงอันหนึ่งไปยังตำแหน่งมืดแรกของแหล่งกำเนิดแสงอีกอันหนึ่ง
การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กกลมการเลี้ยวเบนจากช่องเล็กกลม รูปริ้วเลี้ยวเบนจากช่องกลม มุมที่เกิดริ้วมืดแรก มีค่าดังนี้ เมื่อ R และ D คือ รัศมีและเส้นผ่านศูนย์กลางช่องกลม การแจกแจงความเข้มริ้วเลี้ยวเบนผ่านช่องกลม (c) (a) (b) 2. การเลี้ยวเบนผ่านช่องกลม
กำลังแยกของช่องกลม: 2. การเลี้ยวเบนผ่านช่องกลม
ตัวอย่างเลนส์มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.04 เมตร มีทางยาวโฟกัส 0.04 เมตร ให้แสงซึ่งมีความยาวคลื่นเมตร ผ่านเลนส์จงหารัศมีของวงสว่างวงกลางของการเลี้ยวเบน และหากำลังแยกของเลนส์ที่ความยาวช่วงคลื่นนี้ จาก เรเดียน มุม นี้ก็คือ กำลังแยกของเลนส์ เรเดียน รัศมีของวงสว่างวงกลาง หาได้จาก (เมตร) ( เรเดียน) เมตร ดังนั้นเราอาจถือได้ว่ารูปเป็นจุด
การแทรกสอดจากช่องเล็กยาวคู่การแทรกสอดจากช่องเล็กยาวคู่ การเลี้ยวเบนจากช่องเล็กยาวเดี่ยว พิจารณาแทรกสอดและการเลี้ยวเบน 3. การเลี้ยวเบนเนื่องจากช่องเล็กยาวสองช่อง
พิจารณาการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนพิจารณาการแทรกสอดและการเลี้ยวเบน 3. การเลี้ยวเบนเนื่องจากช่องเล็กยาวสองช่อง a d
ริ้วสว่างแทรกสอดจะหายไป ถ้าถูกซ้อนทับโดยริ้วมืดเลี้ยวเบน จากเงื่อนไข ริ้วสว่างแทรกสอด ริ้วมืดเลี้ยวเบน ดังนั้นเราจะได้ความสัมพันธ์ เมื่อ k คือเลขจำนวนเต็ม จากโจทย์ เพราะฉะนั้นริ้วสว่างแทรกสอดที่หายไปคือ ตัวอย่างช่องเล็กยาวคู่มีความกว้างของช่อง 0.25 มิลลิเมตร ตำแหน่งกึ่งกลางช่องเล็กยาวห่างกัน 1 มิลลิเมตร จงหาว่าริ้วสว่างแทรกสอดใดบ้างที่หายไป
4. เกรตติงเลี้ยวเบน (แบบทะลุผ่าน) ริ้วสว่าง:
4. เกรตติงเลี้ยวเบน พิจารณาการแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของเกรติงที่มีN ช่อง a d การแจกแจงความเข้มของเกรตติงเลี้ยวเบน กรณีที่N=8
ถ้าให้ และ เป็นความยาวคลื่นที่มีค่าใกล้เคียงกันที่สุด คือค่าความแตกต่างความยาวคลื่นน้อยที่สุดที่เกรตติงแยกได้หรือเป็นขีดจำกัดการแยกและค่าเฉลี่ยความยาวคลื่น กำลังแยกของเกรตติงเลี้ยวเบน R กำหนดได้จากสมการ ค่ากำลังแยก R อาจเขียนได้ในเทอมของเลขอันดับ m และจำนวนเส้น (ช่อง) N ของเกรตติง คือ 4. เกรตติงเลี้ยวเบน
ตัวอย่างจงหาว่าเกรตติงเลี้ยวเบนที่มีจำนวน 20,000 เส้น ต่อความยาว 4 เซนติเมตร จะสามารถแยกเส้นสีเหลืองของเส้นของแสงโซเดียมซึ่งมีความยาวคลื่น เมตร และ เมตร ได้หรือไม่ ความยาวคลื่นเฉลี่ยของเส้นสีเหลืองทั้งสอง ผลต่างของความยาวคลื่นของเส้นสีเหลืองทั้งสอง กำลังแยกของเกรตติง ถ้าคิดลำดับที่หนึ่งของสเปกตรัม น้อยกว่าผลต่างของ ความยาวคลื่นของ เส้นสีเหลืองทั้งสอง แยกแยะได้ 4. เกรตติงเลี้ยวเบน
ผลึกเกลือแกง การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์โดยผลึกเกลือแกง (a) (b) 5. การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์โดยผลึก กฎของแบรกก์ (Bragg’s law):
ตัวอย่างในการหาค่าเลขอโวกาโดร (Avogadro’s number) โดยอาศัยการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์จากผลึก เมื่อใช้รังสีเอกซ์ขนาดความยาวคลื่น 0.13922 nm สะท้อนจากผลึก NaCl ในการทดลองสังเกตได้ว่ามีการเลี้ยวเบนลำดับที่ 1 (first order diffraction) ที่มุมจงคำนวณหาระยะทางระหว่างอะตอมในผลึกและเลขอโวกาโดร กำหนดให้ NaCl มีน้ำหนักโมเลกุล = 58.454 และความหนาแน่น
ตอนที่ 7.2 โพลาไรเซชัน(Polarization) • โพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืน • โพลาไรเซชันโดยการสะท้อน • โพลาไรเซชันโดยการหักเหสองแนว • โพลาไรเซชันโดยการกระเจิง • การประยุกต์แสงโพลาไรเซชัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก แกว่งกวัดในระนาบที่ตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศที่คลื่นเคลื่อนที่
และ ผลต่างเฟส และความสัมพันธ์ระหว่าง จะกำหนดภาวะของการโพลาไรซ์ • โพลาไรเซชันของแสงที่น่าสนใจมี 3 ภาวะ (state) คือ • โพลาไรซ์ระนาบ (plane polarized) หรือโพลาไรซ์เชิงเส้น (linearly polarized) • โพลาไรซ์วงกลม (circularly polarized) • โพลาไรซ์วงรี (elliptically polarized) แยกการแกว่งกวัดของสนามไฟฟ้าออกเป็นสององค์ประกอบที่ตั้งได้ฉากกันและ มีความถี่เดียวกัน
และ ถ้า และ กรณีที่ 1ถ้า ในกรณีนี้เรียกว่าแสงโพลาไรซ์เชิงเส้น ถ้า แสดงว่าระนาบของการ โพลาไรซ์อยู่ตามแนวแกน x แต่ถ้า ระนาบของการโพลาไรซ์อยู่ ตามแนวแกน y
กรณีที่ 2 และ และ ในกรณีนี้เรียกว่าแสงโพลาไรซ์วงกลม นั่นคือ กรณีที่ 3ถ้า เหมือนกรณีที่ 2 แต่ แสงที่มีภาวะเช่นนี้เรียกว่าแสงโพลาไรซ์วงรี
การทำแสงที่ไม่โพลาไรซ์เป็นแสงที่โพลาไรซ์4 กระบวนการ • โพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืน • โพลาไรเซชันโดยการสะท้อน • โพลาไรเซชันโดยการหักเหสองแนว • โพลาไรเซชันโดยการกระเจิง
โพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืนโพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืน ความเข้มที่ผ่านตัววิเคราะห์แล้ว คือ
โพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืนโพลาไรเซชันโดยการเลือกดูดกลืน
ตัวอย่างถ้าแกนของตัวโพลาไรซ์และตัววิเคราะห์ขนานกันแสงที่ผ่านตัววิเคราะห์จะมีความเข้มจงหาว่าจะต้องทำมุมกันเท่าใดจึงจะทำให้ความเข้มของแสงเมื่อผ่านตัววิเคราะห์ลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของแสงที่ตกบนตัววิเคราะห์ตัวอย่างถ้าแกนของตัวโพลาไรซ์และตัววิเคราะห์ขนานกันแสงที่ผ่านตัววิเคราะห์จะมีความเข้มจงหาว่าจะต้องทำมุมกันเท่าใดจึงจะทำให้ความเข้มของแสงเมื่อผ่านตัววิเคราะห์ลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของแสงที่ตกบนตัววิเคราะห์ ดังนั้นจะได้ จะเห็นว่าการหมุนตัววิเคราะห์ไปทางขวาหรือซ้ายให้ผลเช่นเดียวกัน
โพลาไรเซชันโดยการสะท้อนโพลาไรเซชันโดยการสะท้อน
ถ้าตัวกลางคือแก้ว ซึ่ง มุม อย่างไรก็ตาม ควรตระหนักว่า มุม หรือ ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นของแสง โพลาไรเซชันโดยการสะท้อน มุมโพลาไรซ์ (polarizing angle) บางทีเรียกว่า มุมบริวสเตอร์ (Brewster’s angle)
โพลาไรเซชันโดยการหักเหโพลาไรเซชันโดยการหักเห
โพลาไรเซชันโดยการหักเหโพลาไรเซชันโดยการหักเห แนวที่ 1 เรียกว่ารังสีธรรมดา (ordinary ray) หรือเรียกสั้นๆ ว่ารังสี O แนวการหักเหของรังสีนี้จะสอดคล้องกับกฎของสเนลล์ แนวที่ 2 เรียกว่ารังสีผิดธรรมดา (extraordinary ray) หรือเรียกสั้นๆ ว่ารังสี E แนวการหักเหของรังสี E ไม่เป็นไปตามกฎของสเนลล์
โพลาไรเซชันโดยการกระเจิงโพลาไรเซชันโดยการกระเจิง เมื่อแสงตกกระทบอนุภาคขนาดเล็กจะเกิดการกระเจิงขึ้น อนุภาคเหล่านี้อาจเป็นธุลีในอากาศหรือโมเลกุลของอากาศที่มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับความยาวคลื่นแสง ผลของการกระเจิงทำให้แสงที่กระเจิงเป็นแสงโพลาไรซ์เชิงเส้นได้