1 / 65

การเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกาย กับโรคเบาหวาน

การเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกาย กับโรคเบาหวาน. ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุลม พบ., วว., F.I.M.S. หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูหัวใจ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี. Contents. Benefits How to Foot care Exercise & PAD. ก่อนเป็นโรค. เจ็บป่วย/เป็นโรค. ภาวะสุขภาพ.

Download Presentation

การเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกาย กับโรคเบาหวาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกายกับโรคเบาหวานการเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกายกับโรคเบาหวาน ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุลม พบ., วว., F.I.M.S. หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูหัวใจ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี

  2. Contents • Benefits • How to • Foot care • Exercise & PAD

  3. ก่อนเป็นโรค เจ็บป่วย/เป็นโรค ภาวะสุขภาพ เริ่มเป็นเบาหวาน เบาหวาน มีภาวะแทรกซ้อน โรคหัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดเริ่มมีปัญหา การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อการรักษา ความรู้ด้านการออกกำลังกาย ความรู้ด้านการออกกำลังกาย + โรค การตรวจประเมินที่เหมาะสม ความแนะนำที่เหมาะสม

  4. ผลของการเคลื่อนไหวร่างกาย/การออกกำลังกายต่อโรคเบาหวานผลของการเคลื่อนไหวร่างกาย/การออกกำลังกายต่อโรคเบาหวาน มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่าการเคลื่อนไหวร่างกายมีความสัมพันธ์กับการลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเบาหวานชนิดที่ 2 โดยมีหลักฐานระดับน่าเชื่อถือได้ว่ามีความสัมพันธ์เชิงปริมาณ และสำหรับผู้ป่วยเบาหวานทุกชนิด การแนะนำให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายที่มากขึ้นจะสามารถช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจต่าง ๆ ได้ด้วย โดยมีหลักฐานระดับเชื่อถือได้ว่าการควบคุมน้ำหนักจะมีผลเพิ่มการควบคุมเบาหวานจากการเคลื่อนไหวร่างกายมากขึ้น

  5. การออกกำลังกายในโรคเบาหวานการออกกำลังกายในโรคเบาหวาน • การออกกำลังกายหรือมีกิจกรรมทางกายในระดับสูงจะมีผลต่อการลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (NIDDM) ได้ 6-56 % • ผู้ที่มีสมรรถภาพร่างกายที่ดีมาก (ฟิตมาก)จะมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานลดลงอย่างมากถึง 16-50% • ผู้ที่มีสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดมากกว่า 31.0 mlO2/kg/min (9 METS) มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานลดลงกว่าผู้ที่มีสมรรถภาพน้อย ถึง74 %

  6. REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403

  7. REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403

  8. REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403

  9. Adverse events Placebo Metformin Lifestyle GI 30.7 77.8 12.9 MSK 21.2 20 24.1 Hospitalization > 1 16.1 15.9 15.6 Deaths 0.16 0.20 0.10 REDUCTION IN THE INCIDENCE OF TYPE 2 DIABETES WITH LIFESTYLE INTERVENTION OR METFORMIN DIABETES PREVENTION PROGRAM RESEARCH GROUP N Engl J Med 2002;346:393-403

  10. Frequency of ex Age-adjust Age&BMI adjust (per week) 0 1.0 1.0 1 0.74(0.6-.091) 0.89(0.72-1.11) 2 0.55(0.44-0.68) 0.71(0.56-0.89) 3 0.73(0.59-0.9) 0.93(0.75-1.16) 4+ 0.63(0.53-0.75) 0.86(0.71-1.14)

  11. ปริมาณการเคลื่อนไหวร่างกายที่แนะนำส่วนใหญ่ คือ การเคลื่อนไหวร่างกายระดับปานกลางมีการใช้พลังงานประมาณ 1,500 กิโลแคลอรีต่อสัปดาห์ หรือประมาณ 200 กิโลแคลอรีต่อวัน หรือออกกำลังกายระดับปานกลางประมาณ 30-60 นาทีต่อวัน WHO กำหนด theoretical min = 1000 K/wk

  12. การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน • ความรู้พื้นฐานที่ต้องรู้ • ชนิดของเบาหวาน • บทบาทของอินซูลิน • ยาที่ใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน • ภาวะแทรกซ้อน • ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจอื่นๆ

  13. บทบาทของอินซูลิน • นำกลูโคลเข้าสู่เซลล์ • กระตุ้นการสร้างกลูโคสจากแหล่งอื่นๆ เมื่อต้องการ • ต้านการสลายไขมัน(ไตีกลีเซอไรด์)เพื่อให้พลังงานในยามปกติ ผป. เบาหวานชนิดที่ 1 หากขาดอินซูลิน • ยามปกติ น้ำตาลจะสูง • เมื่อออกกำลังกาย น้ำตาลจะสูงอยู่ ร่างกายจะใช้ไม่ได้ สารอื่นๆ จะช่วยกระตุ้นการสลายไขมันเพื่อให้พลังงาน ได้กรดไขมันอิสระ ทำลายที่ตับ หากคั่งเกิดคีโตนในร่างกาย

  14. กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องประเมินอย่างละเอียดกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องประเมินอย่างละเอียด • อายุ มากกว่า 35 ปี • อายุ 25 ปี และมีภาวะ • Type 2 diabetes มากกว่า 10 ปี • Type 1 diabetes มากกว่า 15 ปี • มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอื่น ๆ • มีอาการแสดงของภาวะหลอดเลือดชนิด microvascular disease (proliferative retinopathy or nephropathy, including microalbuminuria) • Peripheral vascular disease • Autonomic neuropathy

  15. ผลของการออกกำลังกายในเบาหวานผลของการออกกำลังกายในเบาหวาน • ทำให้การควบคุมน้ำตาลดีขึ้นโดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานแบบที่ 2 • เพิ่มความไวของอินซูลิน • ควบคุมน้ำหนักและลดไขมันในร่างกาย และการควบคุมน้ำหนักจะทำให้อินซูลินมีความไวเพิ่มขึ้น • ลดปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ สำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจ

  16. ผลของการออกกำลังกายในเบาหวานผลของการออกกำลังกายในเบาหวาน • ทำให้ร่างกายมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ทำให้การเผาพลาญพลังงานดีขึ้นด้วย • ลดความเครียด ทำให้อารมณ์ดีขึ้น • ในผู้ที่เริ่มเป็นเบาหวาน การออกกำลังกายจะช่วยลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานได้

  17. การเตรียมตัวก่อนออกกำลังกายการเตรียมตัวก่อนออกกำลังกาย • ควรจะให้ความรู้กับภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้ป่วยโดยเฉพาะการเกิดภาวะน้ำตาลต่ำและคำแนะนำทั่วไปก่อนจะให้ผู้ป่วยออกกำลังกายระดับหนัก • กิจกรรมที่เบา ผู้ป่วยสามารถเริ่มได้เลย โดยควรรู้ระดับน้ำตาลตนเอง • สำหรับกิจกรรมที่หนักขึ้น • วัยหนุ่ม (< 45 ปี) ที่ควบคุมน้ำตาลได้ดี ควรจะสามารถมีกิจกรรมได้เกือบปกติ • วัยกลางคนจนถึงผู้สูงอายุ การตรวจประเมินสำคัญมาก โดยมีกิจกรรมที่เริ่มจากน้อยๆ และให้ค่อยๆ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

  18. สิ่งที่ต้องประเมินผู้ป่วยก่อนออกกำลังกายสิ่งที่ต้องประเมินผู้ป่วยก่อนออกกำลังกาย • ประวัติและการตรวจร่างกาย • การประเมินภาวะเบาหวาน • การประเมินระบบหัวใจ

  19. ข้อห้ามในการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยเบาหวานข้อห้ามในการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน • มีอาการเลือดออกในตาหรือหลังการได้รับการรักษาตาด้วยเลเซอร์ • มีไข้หรือการติดเชื้อ • ระดับน้ำตาล > 250 มก.ต่อ ดล.และมีคีโตนในปัสสาวะ หรือระดับน้ำตาลในเลือด > 300 มก. ต่อ ดล. • ระดับน้ำตาลในเลือด < 80 มก.ต่อดล.

  20. ผู้ที่มีภาวะต่อไปนี้ควรงดการออกกำลังกายระดับหนักมากผู้ที่มีภาวะต่อไปนี้ควรงดการออกกำลังกายระดับหนักมาก • มีหลักฐานหรือประวัติให้สงสัยว่ามีภาวะหลอดเลือดหัวใจ • มีภาวะทางไตที่รุนแรง • มีภาวะทางตาที่อยู่ในขั้นที่มีการขยายตัว • ภาวะทางปลายประสาทที่รุนแรงเช่น ไม่มีความรู้สึกของข้อจนเกิดภาวะข้อเสื่อมจากการเสียของปลายประสาท (Charcot’s joint)

  21. คำแนะนำทั่วไป • ระยะแรกควรติดตามระดับน้ำตาลอย่างใกล้ชิด ควรรู้จักอาการน้ำตาลต่ำ • ไม่ควรออกกำลังกายเพียงคนเดียว • ควรจะมีเครื่องหมายหรือสิ่งแสดงว่าเป็นผู้ป่วยเบาหวานติดตัว • ควรจะดื่มน้ำให้เพียงพอทั้งก่อนระหว่างและหลังการออกกำลังกาย • ไม่ควรออกกำลังกายกลางแดดจัดหรือในวันที่ร้อนจัด • ไม่ควรออกกำลังกายมากกว่า 1 ชั่วโมง • ทุกๆครึ่งชั่วโมงของการออกำลังกาย ควรได้รับคาร์โบไฮเดรตเสริมประมาณ 10- 15 กรัม

  22. การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน อาการน้ำตาลต่ำ • เหงื่อออกมาก • ใจสั่น • กระวนกระวาย • ปวดศีรษะ • หน้ามืด

  23. การป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ การติดตามระดับน้ำตาลในเลือด ควรจะตรวจระดับน้ำตาลในเลือดก่อนออกกำลังกาย และหลังออกกำลังกาย 15 นาที โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่การควบคุมน้ำตาลไม่ดี ควรงดการออกกำลังกายหากระดับน้ำตาลในเลือด > 250 มก.ต่อดล. และมีระดับ คีโตนในปัสสาวะ หรือระดับน้ำตาลในเลือด > 300 มก.ต่อดล.

  24. การป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ • ให้กินคาร์โบไฮเดรต ถ้าระดับน้ำตาลในเลือด < 100 มก.ต่อดล. • ให้เรียนรู้การตอบสนองของระดับน้ำตาลของร่างกายต่อการออกกำลังกายชนิดต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในเวลาดึก

  25. การใช้อินซูลิน • ลดขนาดการใช้อินซูลิน ดังนี้ • ใช้ชนิดออกฤทธิ์เร็วปานกลาง ให้ลดขนาดลง 30 % - 35 % ในวันที่ออกกำลังกาย • ใช้ชนิดออกฤทธิ์ปานกลางกับชนิดออกฤทธิ์สั้นร่วมกันสั้น ให้งดการใช้อินซูลินชนิดออกฤทธิ์สั้นในมื้อก่อนออกกำลังกาย • ใช้ชนิดออกฤทธิ์สั้นบ่อยๆ ให้ลดขนาดลง 30-35% สำหรับมื้อที่ให้ก่อนออกกำลังกายวันนั้น • หากใช้วิธีฉีดแบบใต้ผิวหนังแบบใช้เครื่องฉีดต่อเนื่อง ให้ยกเลิกการตั้งเครื่องเพื่อฉีดปริมาณสูงเป็นช่วงๆ ในช่วงหลังออกกำลังกาย

  26. หลีกเลี่ยงการใช้กล้ามเนื้อที่พึ่งได้รับการฉีดอินซูลินแบบสั้นนั้นอย่างน้อยหนึ่งชั่วโมงหลังฉีดหลีกเลี่ยงการใช้กล้ามเนื้อที่พึ่งได้รับการฉีดอินซูลินแบบสั้นนั้นอย่างน้อยหนึ่งชั่วโมงหลังฉีด • ให้ฉีดอินซูลินที่บริเวณรอบสะดือ แทนกล้ามเนื้อต้นขา หากออกกำลังกายต่อเนื่อง • ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการออกกำลังที่เคยทำประจำ • อย่าออกกำลังกายในเวลาที่อินซูลินออกฤทธิ์สูงสุด

  27. การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน โปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน • ส่วนประกอบ • คำแนะนำ • ข้อควรระวังสำหรับภาวะต่างๆ • ภาวะแทรกซ้อน • ข้อควรระวังและควรปฏิบัติ

  28. DM & PAD

  29. Treadmill testing in PAD • Claudication-free walking time/distance (ICD) • Claudication-limited walking time/distance (ACD) • Protocol: constant load test 1.5-2 mph grade 8-12 % : graded protocol 2 mph increment of 3.5 % every 3 min increment of 2 % every 2 min

  30. Role of exercises Improving of: • Initial claudication distance • Absolute claudication distance • Walking ability: speed, duration and less pain • 15 – 30 % increase in oxygen consumption • other risk factors

More Related