350 likes | 439 Views
โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้. วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖. ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้าน ชาก ไทย หมู่ที่ ๔ ต. ชาก ไทย อ. เขาคิชฌ กูฎ จ.จันทบุรี. การทบทวนการดำเนินงาน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน. นาย สมพงษ์ จวงพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจันทบุรี.
E N D
โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้โครงการพัฒนาสมรรถนะแกนนำชุมชนในการบริหารจัดการองค์ความรู้ วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านชากไทย หมู่ที่ ๔ ต.ชากไทย อ.เขาคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี
การทบทวนการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชนการทบทวนการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน นายสมพงษ์ จวงพันธ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจันทบุรี
1. กรรมการ - ที่มาของกรรมการ 2. อาคารสถานที่ - ชั่วคราว/ถาวร 3. ระเบียบ - มี เป็นลายลักษณ์อักษร 4. กิจกรรม - ภายใน / ภายนอก ศรช. 5. การจัดหาเงินทุน - ได้รับการสนับสนุน รัฐ, เอกชน ฯลฯ โครงสร้าง
1. การประชุม - กี่ครั้ง/เดือน 2. แผนการดำเนินงาน - มี / ไม่มี 3. การดำเนินงานตามแผน - กี่โครงการ / ทำแล้ว / ยังไม่ได้ทำ 4. การรายงานผล - ปีละ / เดือนละ ......ครั้ง การบริหารจัดการ
1. ฐานการเรียนรู้ - จำนวนฐานการเรียนรู้ในศูนย์ 2. มีกิจกรรม - จำนวน........กิจกรรม การขับเคลื่อน กิจกรรม 1. ประชาชน - จำนวน..........คน 2. ผู้นำ/กลุ่ม/องค์กร - จำนวน.......ผู้นำ/กลุ่ม/องค์กร 3. ภาครัฐ 4. ภาคเอกชน 5. มีการสร้างเครือข่าย ศรช. การมีส่วนร่วม
1. การศึกษาดูงาน - ครั้ง/เดือน/ปี 2. จำนวนคนที่ใช้บริการ - บุคคล/ภาครัฐ/ภาคเอกชน ด้านการใช้ ประโยชน์ 1. ช่องทางประชาสัมพันธ์ - วิทยุ/โทรทัศน์/เว็บไซต์/สิ่งพิมพ์/อื่น ๆ - กี่ช่องทาง ด้านการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖
พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสนับสนุนคณะกรรมการให้สามารถดำเนิน กิจกรรมการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับชุมชน 3.เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณ์แบบ อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง 4.เพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2555
พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖ กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ ศรช.บ้านดาวเรือง หมู่ที่ ๑๐ ต.พลับพลา อ.เมืองฯ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณแบบ อำเภอดำเนินการ ดังนี้ ๑. อำเภอร่วมกับคณะกรรมการ ศรช.จัดเวทีประชาคม เพื่อขับเคลื่อน ศรช. จำนวน 2 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง ศรช. จำนวน 2๐ คน เนื้อหา ประกอบด้วย
2.พัฒนา ศรช.ตามแผนปฏิบัติการ เพื่อให้ ศรช.มีคุณลักษณะตามองค์ประกอบดังนี้ ทบทวนการดำเนินงาน ศรช. กำหนดเป้าหมายรูปแบบและแผนปฏิบัติการในการดำเนินงาน ศรช.ไปสู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ จนท.จังหวัด/อำเภอเป็นที่ปรึกษา สรุปผลการจัดเวทีและประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบ ผ่านช่องทางที่เหมาะสม
๑. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่น มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ กิจกรรมความร่วมมือในการจัดการความรู้ระหว่างศูนย์เรียนรู้ชุมชน กับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่นๆ ทั้งในและนอกตำบล
๒. มีการวางระเบียบการให้บริการบุคคลภายนอกชุมชน มีการออกระเบียบการให้บริการ ของศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อรองรับ การให้บริการสื่อ/เอกสาร/องค์ความรู้/กิจกรรม/วิทยากร หรืออื่นๆ แก่บุคคลภายนอกชุมชนตามที่คณะกรรมการ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเห็นสมควร
๓. มีกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันภายในชุมชน มีกิจกรรมนำองค์ความรู้ด้านต่างๆที่ผ่านการจัดการโดยคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนมาเผยแพร่/ถ่ายทอดหรือแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายใต้การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน อย่างสม่ำเสมอ
๔. มีการจัดทำปฏิทินกิจกรรมการเรียนรู้ มีการกำหนด(ปฏิทินกิจกรรม) ช่วงเวลาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ร่วมกันและดำเนินการตามปฏิทินของคนในชุมชนหรือกับบุคคล องค์กรภายนอกชุมชน ที่ชัดเจนเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน
5. มีการจัดกิจกรรมสร้างองค์ความรู้ใหม่ของชุมชน มีการจัดกิจกรรมหรือเวทีชุมชนในการ พัฒนาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือกิจกรรมการต่อยอดความรู้ในชุมชน เช่น ร่วมกันคิดค้นนวัตกรรม/กิจกรรมหรือเครื่องมือใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาในชุมชนการวิจัยชุมชนโดยชุมชน ฯลฯ
6. มีการวางแผนเพิ่มค่าองค์ความรู้ของชุมชน มีการจัดทำแผนการนำความรู้ของชุมชน ไปเพิ่มค่า สร้างราคา ขายความรู้ได้ เช่น จัดทำหลักสูตรฝึกอบรม/จัดทำหนังสือ สิ่งพิมพ์ ออกจำหน่ายหรือจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา/วิทยากรชุมชน
3. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน คณะกรรมการ ศรช.ร่วมกันจัดกิจกรรม ถอดบทเรียนองค์ความรู้ที่จำเป็น/สำคัญ/โดดเด่น ภายในชุมชน จำนวน 2 เรื่อง เช่น องค์ความรู้การแก้ปัญหาในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญ เทคนิคหรือบทเรียนการปฏิบัติที่ดีของผู้นำ กลุ่มองค์กร เครือข่าย หรือชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ และนำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ร่วมกันในชุมชน
4. จัดมุมเผยแพร่องค์ความรู้ชุมชน จัดทำสื่อและอื่นๆ เพื่อเผยแพร่ จัดทำเป็นนิทรรศการย่อยเผยแพร่ใน ศรช. 5. จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 ถอดบทเรียนจัดทำ เป็นรูปเล่ม จำนวน 1 เล่ม โดยมีประเด็นดังนี้
ส่วนที่ ๑ ภูมิหลัง (ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของหมู่บ้าน) ส่วนที่ ๒ การก่อเกิดศูนย์เรียนรู้ชุมชน ส่วนที่ ๓ โครงสร้างการบริหารจัดการและ ผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 4 กระบวนการ/วิธีการในการพัฒนา ศรช. สู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ ส่วนที่ 5 บทเรียนที่ดีและปัจจัยความสำเร็จ ส่วนที่ 6 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา ศรช.
ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 กรอกข้อมูล ตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 1๕ กรกฎาคม 2556
แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ (รักษาสภาพ) ปี ๒๕๕5
พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ชุมชนสมบูรณ์แบบ (รักษาสภาพ) ปี ๒๕๕๖ กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน ๕,๐๐๐ บาท ให้แก่ ศรช.ชากไทย หมู่ที่ ๔ ต.ชากไทย อ.เขาคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี วัตถุประสงค์เพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2555 ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. อำเภอจัดเวทีเพื่อจัดการความรู้เพื่อวางแผนพัฒนาและขับเคลื่อน ศรช.และสร้างความรู้ใหม่ๆให้กับชุมชน ๒. มีกิจกรรมการจัดการความรู้ของชุมชน 1 เรื่อง
วิธีการ - อำเภอร่วมกับคณะกรรมการ ศรช.จัดเวทีประชาคมเพื่อขับเคลื่อน ศรช. จำนวน 1 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง ศรช. จำนวน ๑๐ คน เนื้อหาประกอบด้วย ถอดบทเรียนองค์ความรู้ที่จำเป็น/สำคัญ/โดดเด่น ภายในชุมชน จำนวน 1 เรื่อง เช่น องค์ความรู้การแก้ปัญหาในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญ เทคนิคหรือบทเรียนการปฏิบัติที่ดี ของผู้นำ กลุ่มองค์กร เครือข่าย หรือชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ ทบทวนการดำเนินงาน ศรช. กำหนดเป้าหมาย รูปแบบและแผนปฏิบัติการของ ศรช.
นำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดทำเอกสารองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่นำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดทำเอกสารองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่ จนท.จังหวัด/อำเภอเป็นที่ปรึกษา สรุปผลการจัดเวทีและประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบ ผ่านช่องทางที่เหมาะสม 3.ดำเนินการตามแผนเพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ - คณะกรรมการ ศรช. ร่วมกับท้องถิ่นและผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามความเหมาะสมตามศักยภาพของชุมชน
5. จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล ศรช.สมบูรณ์แบบรักษาสภาพ ปี 2555 ถอดบทเรียน/องค์ความรู้ของชุมชน จัดทำเป็นรูปเล่ม จำนวน 1 เล่ม และกรอกข้อมูลตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2556
แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั่วไป ปี ๒๕๕6
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั่วไป ปี ๒๕๕๖ กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน 2,5๐๐ บาท ให้แก่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนระดับอำเภอ รวม ๘ แห่ง ประกอบด้วย ๑.ศรช.บ้านสามหนาด หมู่ที่ ๔ ต.ทุ่งเบญจา อ.ท่าใหม่ ๒. ศรช.บ้านซึ้งบน หมู่ที่ ๔ ต.ซึ้ง อ.ขลุง ๓. ศรช.บ้านเกาะสาน หมู่ที่ ๖ ต.มะขาม อ.มะขาม ๔. ศรช.บ้านแถวคลอง หมู่ที่ ๑ ต.พลิ้ว อ.แหลมสิงห์
๕.ศรช.บ้านเขาถ้ำสาลิกา หมู่ที่ ๙ ต.ทับไทร อ.โป่งน้ำร้อน ๖. ศรช.บ้านซับตาพุด หมู่ที่ ๑๐ ต.ทรายขาว อ.สอยดาว ๗. ศรช.บ้านตรอกเสม็ด หมู่ที่ ๓ ต.วังโตนด อ.นายายอาม ๘. ศรช.บ้านเหมืองแร่ หมู่ที่ ๙ ต.สามพี่น้อง อ.แก่งหางแมว ขั้นตอนการดำเนินงาน คณะกรรมการ ศรช.ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องจัดเวทีประชาคมเพื่อทบทวนการดำเนินงาน ศรช.และวางแผนปฏิบัติการในปี 2556
วิธีการ จัดเวทีประชาคมโดยมีเจ้าหน้าที่อำเภอเป็นที่ปรึกษา โดยมีเนื้อหา ดังนี้ ทบทวนการดำเนินงาน ศรช. ที่ผ่านมา วิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาสและอุปสรรค กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2556 วางแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน ศรช. ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร การดำเนินงาน ศรช. อย่างต่อเนื่อง
๒.ปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่ในศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้เป็นปัจจุบัน๒.ปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่ในศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้เป็นปัจจุบัน - คณะกรรมการ ศรช. ร่วมกับท้องถิ่นและผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ - ปรับปรุงข้อมูลใน ศรช.ให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน รวมทั้งประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอรับการสนับสนุนสื่อต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ในชุมชน - บูรณาการกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนโดยใช้ ศรช. เป็นศูนย์กลางการดำเนินงาน
3.จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล การดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน - อำเภอกรอกข้อมูลรายละเอียดตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2556
ยินดีต้อนรับ สวัสดีครับ..... สวัสดีค่ะ....