400 likes | 579 Views
บทบาททันตบุคลากร ในการ รณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. ทำไมต้องเป็นทันตบุคลากร. การทำ M eta-analysis โดย U.S.Department of Health and Human Services พบว่าทันตแพทย์สามารถช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ได้ดีเท่ากับบุคลากรทางการแพทย์อื่น เช่น แพทย์ และพยาบาล
E N D
บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
ทำไมต้องเป็นทันตบุคลากรทำไมต้องเป็นทันตบุคลากร • การทำ Meta-analysis โดย U.S.Department of Health and Human Services พบว่าทันตแพทย์สามารถช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ได้ดีเท่ากับบุคลากรทางการแพทย์อื่น เช่น แพทย์ และพยาบาล • การให้ผู้สูบบุหรี่รับรู้ถึงสภาพปัญหาในช่องปาก การให้คำแนะนำแบบตัวต่อตัว การติดตามผู้ป่วย และการนัดหมายอย่างต่อเนื่อง ล้วนมีผลต่อการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วย
FDI Statement on TobaccoTobacco in Daily Practice • FDI กระตุ้นให้สมาชิกมีบทบาทในการลดการสูบบุหรี่ของประชาชน • FDI กระตุ้นให้สมาชิกผสมผสานงานป้องกันการสูบบุหรี่และการเลิกบุหรี่เข้าในงานบริการคลินิกทันตกรรม
จรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพจรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพ • สมัชชาบุหรี่โลก ( FCTC สมาชิก 120 ประเทศ ) ร่วมกันร่าง Code of practice for health professionals: เน้นบทบาท - เป็นตัวอย่างในการไม่สูบบุหรี่ - ให้ข้อมูลพิษภัยบุหรี่แก่ประชาชน - ให้การรักษาผู้ต้องการเลิกบุหรี่ - ไม่รับการสนับสนุนทุกรูปแบบไม่ว่าเพื่อกิจการใดจากบริษัทบุหรี่ - ชี้นำ และสนับสนุนนโยบายควบคุมยาสูบระดับประเทศ / ชุมชน
กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย การดำเนินงานในประเทศไทยระยะที่ 1 2540 2541 2543 2544 สำรวจทัศนคติ โครงการนำร่อง 4 จังหวัด จัดทำคู่มือฯ อบรมทันตบุคลากรรุ่น 1
ระยะที่ 2 2545 2546 2547 2547 2547 จดหมายข่าว ตั้งเครือข่าย ทันตบุคลากรเพื่อการไม่ สูบบุหรี่ การศึกษาเครื่องมือการคัดกรองโรคมะเร็งช่องปาก จัดทำเนื้อหาการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษา อบรม รุ่น 2 ขยายเครือข่าย
คู่มือสำหรับทันตบุคลากร เนื้อหา - ความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของบุหรี่ - ผลต่อสุขภาพ โรคในช่องปากกับบุหรี่ - การทำความเข้าใจพฤติกรรมผู้ติดบุหรี่ - หลักการ 4As - กฏหมายเกี่ยวกับการควบคุมการสูบบุหรี่ ส่งให้ทันตแพทย์ที่สนใจและคลินิก 1,000 แห่ง
คู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานคู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงาน
โครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุขโครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุข • ร่วมมือกับทันตแพทยสภา ทำโครงการบทบาทวิชาชีพทันตแพทย์กับการควบคุมยาสูบ คณะกรรมการอำนวยการ คณะทำงานชุดที่ 1 คลินิกทันตกรรมเพื่อการไม่สูบบุหรี่ จัดทำคู่มือการดำเนินงานสำหรับทันตบุคลากร และสนับสนุนสื่อ โครงการกระต่ายขาเดียว คณะทำงานชุดที่ 2 ประสานเครือข่าย จัดทำฐานข้อมูล เครือข่ายสุขภาพในกทม. การสำรวจการสูบบุหรี่ในทพ. / ทภ. www คณะทำงานชุดที่ 3 งานวิจัย พัฒนาบุคลากร สนับสนุนให้มีการวิจัย 16 เรื่อง
โครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุขโครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุข • เครือข่ายสุขภาพเพื่อการไม่สูบบุหรี่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัช พยาบาล สาธารณสุข เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด ทำโปสเตอร์จรรยาปฏิบัติ หลักสูตรสำหรับ นศ. สุขภาพ เดิน/วิ่ง
บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ
กิจกรรมวันงดบุหรี่โลกกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก • 31 พฤษภาคม49วันงดบุหรี่โลก • คำขวัญปีนี้ “ Tobacco: Deadly in any form or disguise ” “ ยาสูบทุกรูปแบบ เป็นอันตรายถึงชีวิต ” • ส่วนกลาง นิทรรศการที่มาบุญครองร่วมกับ กรมควบคุมโรค มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ เครือข่ายต่าง ๆ ฯลฯ
บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ
การดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรมการดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • การเตรียมทีมงาน เตรียมสถานที่และสิ่งแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ • การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ตามขั้นตอน 4As Ask ซักถามและบันทึกประวัติการสูบบุหรี่ Advise แนะนำและชักจูงใจให้ผู้ป่วยต้องการเลิกบุหรี่ Assist ให้การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ทุกคน Arrange การติดตาม และช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ
นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 • ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ(ผู้ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 2,000 บาท) • เจ้าของสถานที่ เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร ร้านตัดผม ไม่จัดให้เป็นที่ปลอดบุหรี่ (ปรับไม่เกิน 20,000บาท)
นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ • ห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกรูปแบบ ( รวมถึงการโชว์สินค้าที่สะดุดตา ) • ห้ามเผยแพร่ แจกแถมตัวอย่างผลิตภัณฑ์หรือส่งเสริมการขายทุกรูปแบบ • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ปลีกเป็นมวน หรือบุหรี่ซองเล็กที่มี <20 มวน • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ให้ผู้อายุต่ำกว่า 18 ปี
บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ
รูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัยรูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัย • การฝึกอบรม • การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน • การจัดประชุมวิชาการ • สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย • สนับสนุนสื่อ
อากาศสดใส ไร้ควันบุหรี่
บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
FDI Statement on TobaccoTobacco in Daily Practice • The FDI urges its Member Associations and all oral health professionals to take decisive actions to reduce tobacco use and nicotine addiction among the general public. • The FDI also urges all oral health professionals to integrate tobacco use prevention and cessation services into their routine and daily practice.
จรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพจรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพ • สมัชชาบุหรี่โลก ( FCTC สมาชิก 120 ประเทศ ) ร่วมกันร่าง Code of practice for health professionals: เน้นบทบาท - เป็นตัวอย่างในการไม่สูบบุหรี่ - ให้ข้อมูลพิษภัยบุหรี่แก่ประชาชน - ให้การรักษาผู้ต้องการเลิกบุหรี่ - ไม่รับการสนับสนุนทุกรูปแบบไม่ว่าเพื่อกิจการใดจากบริษัทบุหรี่ - ชี้นำ และสนับสนุนนโยบายควบคุมยาสูบระดับประเทศ / ชุมชน
กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย การดำเนินงานในประเทศไทยระยะที่ 1 2540 2541 2543 2544 สำรวจทัศนคติ โครงการนำร่อง 4 จังหวัด จัดทำคู่มือฯ อบรมทันตบุคลากรรุ่น 1
ระยะที่ 2 2545 2546 2547 2547 2547 จดหมายข่าว ตั้งเครือข่าย ทันตบุคลากรเพื่อการไม่ สูบบุหรี่ การศึกษาเครื่องมือการคัดกรองโรคมะเร็งช่องปาก จัดทำเนื้อหาการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษา อบรม รุ่น 2 ขยายเครือข่าย
คู่มือสำหรับทันตบุคลากร เนื้อหา - ความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของบุหรี่ - ผลต่อสุขภาพ โรคในช่องปากกับบุหรี่ - การทำความเข้าใจพฤติกรรมผู้ติดบุหรี่ - หลักการ 4As - กฏหมายเกี่ยวกับการควบคุมการสูบบุหรี่ ส่งให้ทันตแพทย์ที่สนใจและคลินิก 1,000 แห่ง
คู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานคู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงาน
โครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุขโครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุข • ร่วมมือกับทันตแพทยสภา ทำโครงการบทบาทวิชาชีพทันตแพทย์กับการควบคุมยาสูบ • เครือข่ายทันตบุคลากรเพื่อการไม่สูบบุหรี่ • จัดทำคู่มือการดำเนินงานสำหรับทันตบุคลากร และสนับสนุนสื่อ • สำรวจการบริโภคยาสูบในทันตบุคลากร ทันตแพทย์ 2 ครั้ง 2540 2547 ทันตาภิบาล 1 ครั้ง 2548
บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ
กิจกรรมวันงดบุหรี่โลกกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก • 31 พฤษภาคม49วันงดบุหรี่โลก • คำขวัญปีนี้ “ Tobacco: Deadly in any disguise ” “ ยาสูบทุกรูปแบบ เป็นอันตรายถึงชีวิต ” • ส่วนกลาง นิทรรศการที่มาบุญครองร่วมกับ กรมควบคุมโรค มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ เครือข่ายต่าง ๆ ฯลฯ
การดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรมการดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • การเตรียมทีมงาน เตรียมสถานที่และสิ่งแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ • การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ตามขั้นตอน 4As Ask ซักถามและบันทึกประวัติการสูบบุหรี่ Advise แนะนำและชักจูงใจให้ผู้ป่วยต้องการเลิกบุหรี่ Assist ให้การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ทุกคน Arrange การติดตาม และช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
ความสำเร็จของทันตบุคลากรความสำเร็จของทันตบุคลากร • การทำ Meta-analysis โดย U.S.Department of Health and Human Services พบว่าทันตแพทย์สามารถช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ได้ดีเท่ากับบุคลากรทางการแพทย์อื่น เช่น แพทย์ และพยาบาล • การให้ผู้สูบบุหรี่รับรู้ถึงสภาพปัญหาในช่องปาก การให้คำแนะนำแบบตัวต่อตัว การใช้สารทดแทนนิโคติน การติดตามผู้ป่วย และการนัดหมายอย่างต่อเนื่อง ล้วนมีผลต่อการควบคุมการบริโภคยาสูบของผู้ป่วย • การศึกษาในคลินิกทันตกรรม รพ.ธัญญารักษ์ พ.ศ.2544 สามารถช่วยผู้สมัครใจเลิกบุหรี่ได้สำเร็จนาน 6 เดือนขึ้นไป ถึงร้อยละ 33.3
นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 • ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ผู้ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 2,000 บาท • เจ้าของสถานที่ เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร ร้านตัดผม ไม่จัดให้เป็นที่ปลอดบุหรี่ ปรับไม่เกิน 20,000บาท
นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ • ห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกรูปแบบ ( รวมถึงการโชว์สินค้าที่สะดุดตา ) • ห้ามเผยแพร่ แจกแถมตัวอย่างผลิตภัณฑ์หรือส่งเสริมการขายทุกรูปแบบ • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ปลีกเป็นมวน หรือบุหรี่ซองเล็กที่มี <20 มวน • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ให้ผู้อายุต่ำกว่า 18 ปี
รูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัยรูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัย • การฝึกอบรม • การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน • การจัดประชุมวิชาการ • สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย • สนับสนุนสื่อ
อากาศสดใส ไร้ควันบุหรี่