5.62k likes | 14.16k Views
ความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุ. นพ.สมชายโชติ ปิย วัชร์ เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2 มิถุนายน 2557. หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร ???. หงอก/ ป่วย / ลืม / พร่อง เหี่ยว /หูตึง/ตามัว Sex เสื่อม. นพ.สมชายโชติ ปิย วัชร์ เวลา
E N D
ความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2 มิถุนายน 2557
หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร???หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร??? หงอก/ ป่วย / ลืม / พร่อง เหี่ยว /หูตึง/ตามัว Sex เสื่อม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557
สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทยสถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย • กำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ Aging Society 10% • สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์แบบ Aged Society 20% • สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด Super Aged Society 30% นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557
สถานการณ์ประชากรไทย 1. ประชากรโลกในปัจจุบันและอนาคตจะเป็นโลกของผู้สูงอายุเนื่องจากประชากรโลกจะมีอายุยืนยาวขึ้น และมีอัตราการเกิดลดน้อยลง ทำให้จำนวนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว 2.ปัจจุบันทั่วโลกพบว่ามีผู้สูงอายุประมาณ 600 ล้านคน (ผู้สูงอายุหมายถึงบุคคลที่มีอายุตั้งแต่60 ปีบริบูรณ์หรือมากกว่า)แต่ในปีค.ศ. 2025 จะเพิ่มขึ้นเป็น 1,200 ล้านคน และในปีค.ศ. 2050 จะเพิ่มเป็น 2,000 ล้านคน หมายความว่าผู้สูงอายุจะมีจำนวนมากกว่าเด็กและเยาวชนที่อายุน้อยกว่า 15 ปีในขณะที่สภาพปัญหาในอนาคตผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
สถานการณ์ประชากรไทย 3. ส่วนใหญ่จะอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งมีแนวโน้มที่ จะขาดการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับปัญหาการสูงอายุ ของประชากรในสังคม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
ประชากรไทยจะมีอายุสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” = “เกิดน้อย อายุยืน” 1960;2503 นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2020;2563
ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุ 1.การเพิ่มภาระจากโรค ( 1 ใน 4 มีภาวะทุพพลภาพ) 2.ด้านบริการสุขภาพ (ป่วยนาน) 3.ภาระค่าใช้จ่าย (จ่ายสูง) 4.ผลต่อเศรษฐกิจ (ภาระสังคม) 5.การขยายของเขตเมือง (ความปลอดภัย/อุบัติเหตุ) 6.บริการทางสังคม (เพิ่มระบบ) 7.บทบาทของครอบครัว (ผู้ดูแล) นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน (ประคอง อินทรสมบัติ, 2549)
ผู้สูงอายุไทยกับภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทยกับภาวะสุขภาพ • ความเจ็บป่วยและโรค • คนไทยร้อยละ 66.4 มีปัญหาสุขภาพ ร้อยละ 14.6 ต้องล้มหมอนนอนเสื่อ ผู้สูงอายุหญิงมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพมากกว่าเพศชาย การเจ็บป่วยมักเกิดจากการปฏิบัติตนไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการดูแลสุขภาพตนเอง ส่วนปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุหญิงมีปัญหามากกว่าเพศชาย เพราะส่วนใหญ่ผู้สูงอายุตนเองไร้ค่า ซึมเศร้า โดยกลุ่มโรคที่ป่วยมากที่สุดสามลำดับแรกคือ โรคระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกและข้อ โรคระบบทางเดินหายใจ และโรคหัวใจหลอดเลือด นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
สถานะสุขภาพผู้สูงอายุสถานะสุขภาพผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน การประเมินสุขภาพตนเอง โรคเรื้อรัง สุขภาพช่องปาก สมองเสื่อม
พฤติกรรมเสี่ยง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา เกือบ 1 ใน 4 ของผู้สูงอายุทั้งสิ้นสูบบุหรี่ โดยผู้สูงอายุชายมีสัดส่วนที่สูบบุหรี่สูงกว่าหญิงอย่างเห็นได้ชัด คือร้อยละ 43.3ขณะที่ผู้สูงอายุหญิงสูบบุหรี่เพียงร้อยละ 4.6เท่านั้น ผู้สูงอายุชายสูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ 10 มวน ขณะที่ผู้สูงอายุหญิงสูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ 6มวน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ดื่มสุรา มีผู้สูงอายุเกือบ 1 ใน 4 ยังคงดื่มสุรา โดยเป็นการดื่มนานๆ ครั้ง แต่มีผู้สูงอายุไม่น้อยที่ดื่มสุราทุกวัน ผู้สูงอายุชายดื่มสุราสูงกว่าหญิงคือร้อยละ 41.9ขณะที่ผู้สูงอายุหญิงมีสัดส่วนที่ดื่มสุราเพียงร้อยละ 8.6
การขับขี่ยานพาหนะ • การขับขี่ยานพาหนะต่างๆ เป็นปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเสียชีวิต บาดเจ็บ และทุพพลภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การใช้เข็มขัดนิรภัย • ผู้สูงอายุยังคงเป็นผู้ขับหรือโดยสารรถยนต์ตอนหน้า(ร้อยละ 60.6) แต่ไม่เคยใช้เข็มขัดนิรภัยเลยสูงถึงร้อยละ 44.1และใช้ทุกครั้งเพียงร้อยละ 21.9 ผู้สูงอายุชายเป็นผู้ขับหรือโดยสารรถยนต์ตอนหน้าสูงกว่าหญิง แต่เกือบครึ่งของผู้สูงอายุหญิงไม่เคยใช้เข็มขัดนิรภัยเลย และใช้ทุกครั้งเพียงร้อยละ 18.9 ขณะที่ผู้สูงอายุชายไม่เคยใช้เข็มขัดนิรภัยเลยมีร้อยละ 38.7 และ 1 ใน 4 ใช้เข็มขัดนิรภัยทุกครั้ง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การสวมหมวกกันน็อก • กว่า 2 ใน 3 ของผู้สูงอายุขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ แต่มากกว่าครึ่งไม่เคยสวมหมวกกันน็อกเลย มีเพียงร้อยละ 9.4 เท่านั้นที่สวมทุกครั้ง ผู้สูงอายุชายขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์สูงกว่าหญิง แต่ผู้สูงอายุหญิงไม่เคยสวมหมวกกันน็อกเลยสูงถึงร้อยละ 66.9 และมีเพียงร้อยละ 6.2 เท่านั้นที่สวมทุกครั้ง ขณะที่ผู้สูงอายุชายไม่เคยสวมหมวกกันน็อกเลยร้อยละ 47.4 และสวมทุกครั้งร้อยละ 12.7 นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุแนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ • ทฤษฎีการสูงอายุ • กระบวนการชรา การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ ร่างกาย จิตใจ สังคม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
ทฤษฎีการสูงอายุ อธิบายกระบวนการชราของมนุษย์ให้ชัดเจนที่สุด ประกอบด้วยทฤษฎี 3 กลุ่ม • ทฤษฎีทางชีววิทยา(Biological Theory) ถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ • ทฤษฎีทางจิตวิทยา (Psychological Theory) การเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพ และพฤติกรรมของผู้สูงอายุ • ทฤษฎีทางสังคม (Sociological Theory) แนวโน้มบทบาท สัมพันธภาพ และการปรับตัวในสังคมของผู้สูงอายุ ซึ่งพยายามวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคมไป และพยายามที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557
ผู้สูงอายุหมายถึง • ในประเทศไทย ผู้สูงอายุหมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป แต่ความชราหรือขบวนการความแก่ (Aging Process) เป็นขบวนการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ต่างๆ ในร่างกายเริ่มตั้งแต่อยู่ ในครรภ์ จนเติบโตเป็นทารกและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ในช่วงเวลาเหล่านี้ เซลล์จะเปลี่ยนแปลงในทาง เสริมสร้าง ทำให้เจริญเติบโต เมื่อพ้นวัยผู้ใหญ่แล้ว จะมีผลการสลายของเซลล์มากกว่าสร้าง ทำให้ สมรรถภาพการทำงานของอวัยวะต่างๆ ลดลง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคล นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุสามารถแบ่งโดยใช้วัย (Chronological age) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ (Living in an ageing world) ♦ Young -old คือ อายุระหว่าง 60 - 69 ปื ♦ Medium -old คือ อายุระหว่าง 70 - 79 ปื ♦ Old -old คือ อายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไป นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การแบ่งกลุ่มใช้เกณฑ์ความสามารถของผู้สูงอายุการแบ่งกลุ่มใช้เกณฑ์ความสามารถของผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ • กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ดี(well elder) • กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (home bound elder) • กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ เนื่องจากมีปัญหาสุขภาพ มีความพิการ (bed bound elder) นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
ผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลงผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
ผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา และ จิตวิทยา โรคที่พบบ่อย ภาวะสมองเสื่อม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาของผู้สูงอายุการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกาย • ผิวหนัง จะบาง แห้ง เหี่ยวย่น • ต่อมเหงื่อ ลดน้อยลง การขับเหงื่อน้อยลง • ผมและขน ร่วง เปลี่ยนเป็นสีขาว • ระบบประสาทสัมผัส • ตาสายตาเปลี่ยน กล้ามเนื้อลูกตาเสื่อม- หู ประสาทรับเสียงเสื่อม- จมูกประสาทรับกลิ่นบกพร่อง- ลิ้นรู้รสน้อยลง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาของผู้สูงอายุการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกาย • ระบบทางเดินอาหาร ฟัน ต่อมน้ำลาย ประสาทกล้ามเนื้อที่ควบคุมการกลืน น้ำย่อยต่างๆ ตับและตับอ่อน การขับถ่าย • ระบบทางเดินหายใจ ปอดเสื่อมลง กล่องเสียงเสื่อม กล้ามเนื้อทรวงอกเสื่อม • ระบบหัวใจและหลอดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนกำลัง หลอดเลือดแข็งตัว ความดันโลหิตจะสูงขึ้น ไขมันเกาะผนังหลอดเลือดหนาขึ้น นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาของผู้สูงอายุการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกาย • ระบบทางเดินปัสสาวะ ไต กระเพาะปัสสาวะ กล้ามเนื้อหูรูด ต่อมลูกหมาก • ระบบประสาทและสมอง ความรู้สึก การเคลื่อนไหว ความสัมพันธ์ การทรงตัว อาการสั่น หลงลืมง่าย • ฮอร์โมน ฮอร์โมนเพศเอสโตรเจน แอนโดรเจน พาราธัยรอยด์ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเปลี่ยนแปลงทางสังคม • การเปลี่ยนแปลงทางด้านสถานภาพและบทบาททางสังคม เช่น ผู้ที่เคยทำงานเมื่ออายุครบ 60 ปี ต้องออกจากงาน การสูญเสียบทบาทในการเป็นผู้นำครอบครัว • การถูกทอดทิ้ง มีการย้ายถิ่นเพื่อมาหางานทำ ลูกหลานไปทำงานนอกบ้านไม่มีเวลาเอาใจใส่ทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาซึมเศร้า • การเสื่อมความเคารพ คนส่วนใหญ่มักมองว่าผู้สูงอายุมีความสามารถน้อยลง และคิดว่าผู้สูงอายุไม่ทันต่อเหตุการณ์ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
แนวคิดในการจัดบริการ คือ มุ่งให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทีดี ทั้งกายและจิตมีครอบครัวและสังคมที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ได้รับสวัสดิการและการบริการที่เหมาะสม อยู่อย่างมีคุณค่ามีศักดิ์ศรี พึ่งตนเองได้และมีส่วนร่วม โดยที่ครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเกื้อหนุน ผู้สูงอายุ รัฐบาลและหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนมีศักยภาพในการจัดบริการสุขภาพและสังคมที่เหมาะสม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 3 ระดับ 1.การป้องกันโรคในระดับปฐมภูมิ (Primary prevention) หมายถึงการป้องกันโรคโดยส่งเสริมสุขภาพให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีตามอัตภาพ โดยคงระยะเวลาที่มีสุขภาพทางกาย สุขภาพจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางจิตวิญญาณให้ยาวนานที่สุด โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่ยังไม่มีโรค นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ(ต่อ)แนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ(ต่อ) 2.การป้องกันโรคในระดับทุติยภูมิ(Secondary prevention)หมายถึงการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ป้องกันไม่ให้พยาธิสภาพลุกลาม ด้วยการตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นระยะเพื่อตรวจหาโรคและให้การรักษาโรคตั้งแต่ในระยะแรก 3.การป้องกันโรคในระดับตติยภูมิ(Tertiary prevention)หมายถึง การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การป้องกันการเกิดโรคซ้ำ ตลอดจนการป้องกันความพิการ ภาวะทุพพลภาพในระยะยาว ที่อาจเกิดภายหลัง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2557 เป้าประสงค์ 1.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกัน และคัดกรองสุขภาพ 2.มีระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ที่มีศักยภาพ และเข้าถึงได้ 3.มีการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยชุมชนและท้องถิ่น องค์ประกอบ 1.คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 2.ระบบการดูแลผู้สูงอายุ ในสถานพยาบาล 3.การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนและท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ วิธีดำเนินงาน 1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ 3.พัฒนาต้นแบบการดูแลโดยชุมชน ท้องถิ่น 1.คัดกรองปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ 2.ระบบส่งต่อ/ดูแลต่อเนื่อง 3.ใช้กลไก Aging Manager นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการ(โรงพยาบาล)ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการ(โรงพยาบาล) OPD ช่องทางด่วนผู้สูงอายุ 70 ปีไม่มีคิว • คลินิกผู้สูงอายุ • ประเมินมาตรฐานสุขภาพอนามัย • คัดกรองสุขภาพจิต • ADL • อาหาร/ออกกำลังกาย • ภาวะ Geriatric Syndromeฯลฯ • (ตามคู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุปี2557) • ซักประวัติ • ผู้ป่วยเก่า • ผู้ป่วยใหม่ คลินิกเฉพาะโรค/คลินิกโรคทั่วไปDM/HT StrokeHeartAsthma ฯลฯ - จนท.คลินิก ผสอ. LAB/X-RAY ตรวจพิเศษต่างๆ • Admitted(IPD) • กลับบ้าน รับยา
ระบบบริการงานผู้สูงอายุในหอผู้ป่วยระบบบริการงานผู้สูงอายุในหอผู้ป่วย Intermediates Care IPD (WRAD) • วางแผนการจำหน่ายผู้ป่วย • ระบบส่งต่อ(Referral system) • ระบบส่งต่อข้อมูล(Refer Link) • Home Health Care ( HHC ) • Continuing of Care (COC) รพช. รพ.สต. รักษาตามรายโรค ประเมินผู้สูงอายุเฉพาะโรค (มีแบบประเมินผู้สูงอายุเฉพาะโรค) วิเคราะห์สภาพผู้ป่วยและรายงานผลการประเมิน อาการแอบแฝงแพทย์
รพช. Intermediates Care รพ.สต. • กรณีมีญาติ • Care giver(ผู้ดูแลในครอบครัว) • ดูแลต่อเนื่องโดย สหวิชาชีพ(COC) • Home Health Care ( HHC ) • กรณีไม่มีญาติ • ศูนย์ DAY CARE • Nursing Home • -อปท. เป็นผู้ดูแล • เรื่องสถานที่ ,งบประมาณ, • การดำเนินงาน • กรณีไม่มีบ้าน • ประสานบ้านพักคนชรา • บ้านสงเคราะห์คนชรา รพศ./รพท./รพช.
Long Term Care Long Term Care • ติดตามโดย จนท.อสม./อสผ. • ดูแลต่อเนื่องทีมสหวิชาชีพ (COC) • ประเมินสภาวะสุขภาพอนามัย ADL • ฟื้นฟูสมรรถภาพ/กายภาพบำบัด • ส่งเสริมสุขภาพกาย/สุขภาพจิต • Home Health Care ( HHC ) รพศ./รพท. ระบบปฐมภูมิ/ รพ.สต. ระบบส่งต่อ (Referral system)
สถานดูแลผู้สูงอายุ รพช./รพ.สต จัดบริการ ส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟู อปท. เป็นเจ้าภาพหลัก ด้านสังคม จัดตั้งศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ กรมพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ศูนย์ DAY CARE Nursing Home Care giver
พยาบาลผู้สูงอายุ (Gerontologicalnurse) 1.มีความสามารถในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 2.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ 3.มีความสามารถในการสอนผู้สูงอายุและครอบครัว 4.มีความสังเกตดี สามารถแปลความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ แม้เพียงเล็กน้อยได้ 5. มีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
วิทยากร ครู ก (หลังจบการอบรม) ด้านการปฏิบัติมีความสามารถ • 1.มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนการสอน • แก่ผู้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรพนักงานดูแลผู้สูงอายุ 70 ชั่วโมง • 2.สามารถวิเคราะห์ปัญหาของผู้สูงอายุ และวางแผนการดูแล ช่วยเหลือผู้สูงอายุ • รายบุคคลได้ • 3.สามารถประเมินและคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมตาม คุณสมบัติที่กำหนดในหลักสูตรได้ • 4.สามารถควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล และตรวจสอบการปฏิบัติงาน • ของพนักงานดูแลผู้สูงอายุตามหลักสูตร 70 ชั่วโมง คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ ปี 2557 นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน ไฟล์เอกสาร ดาวน์โหลดที่เวปไซด์ www.agingthai.org
ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุดำเนินการจัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
องค์ประกอบการดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวองค์ประกอบการดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว 1.ข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบ กิจวัตรประจำวัน(Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3.มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 4.มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ(Home Health Care) 5.มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 6.มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่2(ติดบ้าน)และกลุ่มที่3(ติดเตียง) 7.มีวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 8.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน
สวัสดี นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557