1 / 53

วันพุธที่ 31 ตุลาคม 255 5 เวลา 8.45 น . - 16.45 น .

เอกสารประกอบการบรรยายเพิ่มเติม “ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และปัญหาในการนำมาใช้ ”. วิทยากร รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์ รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีฯ.

harris
Download Presentation

วันพุธที่ 31 ตุลาคม 255 5 เวลา 8.45 น . - 16.45 น .

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการบรรยายเพิ่มเติมเอกสารประกอบการบรรยายเพิ่มเติม “มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และปัญหาในการนำมาใช้” วิทยากร รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์ รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีฯ วันพุธที่ 31 ตุลาคม 2555 เวลา 8.45 น. - 16.45 น. ณ โรงแรมอะริสตั้น สุขุมวิท 24 กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท บัญชีกิจบริหาร จำกัด

  2. บริษัทมหาชน • จดไว้แล้ว ไม่เข้าตลาด • อยู่ระหว่างทำ IPO • อยู่ในตลาด • เพิกถอนจากตลาด

  3. แม่บททำให้การทำบัญชีอยู่บนแม่บททำให้การทำบัญชีอยู่บน • ระมัดระวัง (prudence) • ไม่ overstate assets • ไม่ understate liabilities

  4. สาระสำคัญ (materiality) • Override มาตรฐานฯ ในบางเรื่องหรือบางย่อหน้า หากทำตาม ไม่ได้ทำให้งบ ถูกต้องตามควร

  5. เนื้อหาของรายการ > รูปแบบตามกฎหมาย • สัญญาเช่าการเงิน • งบรวม

  6. IFRS 2009 ใช้ในไทย • ส่วนใหญ่ใช้จะใช้ไปจนสิ้นปี 58 พอปี 59 คาดจะใช้ IFRS 2012 • บางส่วนใช้จนสิ้นปี 57 หรือ 56 พอปี 57 หรือ 58 ใช้ IFRS 2012 เช่น งบรวมสัญญาเช่า • Control + สามารถ control บ ได้แท้จริง + ร่วมรับผ ล ป ย และความเสี่ยงใน บ ที่ลงทุน อย่างมีนัยสำคัญ

  7. สัญญาเช่าจะไม่มีการจำแนกเป็น OL/FL  ทุกสัญญาเช่าต้องรับรู้เป็น สท + หส ไม่ต่างจากสัญญาเช่าการเงิน (finance lease)

  8. Dr. สิทธิการได้รับจาก ปย จากสัญญาเช่า xx ดอกเบี้ยจ่ายรอตัด xx Cr. เจ้าหนี้ภายใต้สัญญาเช่า xx การตัดจำหน่ายสิทธิฯ อยู่ที่ผู้เช่าเป็นฝ่ายได้รับ ผล และความเสี่ยง เป็นนัยสำคัญของ ตัว สท ที่เช่า 1) หากไม่  straight-line model 2) หากใช้  accerlated model

  9. TAS 12 • ให้ใช้วิธีหนี้สิน+ งบดุลจุดเริ่มต้น • จะไม่ใช้งบกำไรขาดทุน ดูว่ากำไรทางบัญชีกับกำไรทางภาษีต่างกัน • จะต้องใช้งบดุลเป็นจุดเริ่มต้น • Compare BV ของ สท หรือ หส กับฐานภาษี • เน้นการตั้ง DTL มากกว่าตั้ง DTA

  10. ในปัจจุบัน TFRS for PAES ยังไม่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน • เครื่องมือป้องกันความเสี่ยง • ที่ผ่านมา : ทำตาม 1) หลักสรรพากร 2) IAS 39 3) หลักภายในบริษัท • เร็วๆ นี้: ติดตามแนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน

  11. ปี 57 บังคับ • Customer Loyalty Program • กำหนด FV ของแต้มสะสมซ่อนในราคาขาย (FV ของคูปองให้สิทธิมาใช้บริการ ) • แยกบันทึกแต้มสะสม ออกมาเป็นรายได้รอรับรู้ (deferred income)

  12. หากเปลี่ยนนโยบายบัญชีหากเปลี่ยนนโยบายบัญชี • PAEs: ออกงบดุล 3 งวด และงบกำไรขาดทุน 2 งวด (TAS 1) • NPAEs: ออกงบดุล 2 งวด และกำไรขาดทุน 2 งวด

  13. ฐานภาษี • ณ วันเกิด transaction โดยทั่วไป BV ของ สท หรือ หส = TB

  14. ณ วันปิดบัญชี BV กับ TB ของ สท หรือ หส อาจไม่เท่ากัน เพราะหลักบัญชีที่นำมาใช้ปรับมูลค่า สท หรือ หส ไม่เป็นที่ยอมรับทางภาษี

  15. เมื่อนำ BV ของ สท หรือ หส ไปเทียบ TB • ผลต่าง • ชั่วคราว • ถาวร เช่น รถนั่งซื้อมาเกิน 1 ล้าน ส่วนที่เกินไปกว่า 1 ล้าน ไม่เคยนำมาหักค่าเสื่อมทางภาษีได้เลย

  16. อัตราภาษีที่มาคำนวณ DTA/DTL • ต้องเป็น expected rate ที่จะ apply กับกิจการของเราในปีที่ DTA/DTL จะเกิดการกลับรายการ • ต้องเป็นอัตราที่ผ่านลงราชกิจจานุเบกษาแล้วในปีที่กำลังตั้ง DTA/DTL

  17. กรอบ 1 ใช้เมื่อ • มีการตีราคาทรัพย์สินใหม่ + ราคาประเมิน > ราคาทุน แต่กำไรจากการตียังไม่ต้องเสียภาษี จนกว่าจะขาย

  18. มีการ MTM เงินลงทุนเผื่อขาย (เพื่อค้า) และราคาตลาด > ราคาทุน แต่กำไรยังไม่ต้องเสียภาษี

  19. กรอบ 2 • เหตุการณ์ตรงข้าม กรอบ 1 • การตั้งค่าเผื่อการลดมูลค่า สท ทั้งหลาย • หนี้สงสัยจะสูญ • สินค้าล้าสมัย • ด้อยค่าของ สท ระยะยาว

  20. กรอบ 3 • ไม่มีสถานการณ์ให้ใช้ • อาจมีบ้าง เช่น หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงินแสดงสุทธิจากดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี

  21. กรอบ 4 • มีการตั้งประมาณการหนี้สิน • มีการรับเงินมัดจำมาล่วงหน้า เช่น เงินมัดจำค่าเช่าอาคารเกิน 3 ปี และเรียกเก็บมาเกิน 6 เท่าของค่าเช่ารายงวด ทางภาษีให้ตกเป็นรายได้ในงวดที่รับ และหักเป็นรายจ่ายได้ในงวดที่คืน

  22. การดูกำไรอนาคตพอ • ประวัติการทำกำไรในอดีต ย้อนหลัง 3-5 ปี และหาก มี Tax loss มีโอกาสได้ใช้หรือไม่ • แผนงาน โครงการ กิจกรรมที่คาดว่าจะทำใน 3-5 ปี ข้างหน้า (ดูงบประมาณ) ว่ามีแน้วโน้มทำกำไรได้หรือไม่ พอหรือเปล่าที่จะนำผลต่างชั่วคราวชนิดลดภาษีได้ ไปใช้ ปย

  23. สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ถ้ามี) • ลู่ทางวางแผนภาษีเพื่อสร้างกำไรในอนาคต เช่น หากมีกำไรไม่พอในอนาคต คาดว่าจะมีขาย สท เช่นเครื่องจักร ทำสัญญาเช่าคืนกลับ ยังไงมีกำไรรอคอยแน่

  24. กิจการทำพวก real estate • รับรู้รายได้ทางบัญชีเมื่อโอน แต่ยื่นภาษี รับรู้ตามวิธี % ของงาน หรือวิธีเงินค่างวด

  25. คำนวณภาษีเงินได้ของปี 55 กำไรทางบัญชี 1,985 บวก (หัก) : คชจ เงินชดเชย 40 เงินชดเชยจ่ายจริง (10) หนี้สงสัยฯ 60 ค่าเสื่อมส่วนเพิ่ม (175) กำไรทางภาษี 1,900 X ภาษี 23% ภาษี 437 บาท

  26. Dr. คชจ ภาษี 437 cr. ภาษีค้างจ่าย 437

  27. Miss 25 write down,30 write off ปลายปี 55 ลูกหนี้ฯ: BV = 700, TB = 800  BV < TB = 100 บาท  DTA แต่อย่ารีบตั้ง ให้คุยกับฝ่าย กม ว่าจำนวนที่ค่าเผื่อไว้ จะเกิดการสูญจริง (ดำเนินการตาม ป 186) รอบไหน แล้วรอบนั้น มีกำไรพอหรือไม่ที่จะนำหนี้สูญไปใช้ ปย ในการหักทางภาษี สมมติว่ามีพอ  DTA = 100x20% = 20 บาท

  28. อาคาร: BV = 7,000 – 3,675 = 3,325 บาท TB = 7,000 – 3,500 - 350 = 3,150 บาท BV > TB = 3,325 – 3,150 = 175 บาท  DTL = 175 x 20% = 35 บาท

  29. เงินลงทุนเผื่อขาย (ราคาทุนเดิม = 280): BV = 310, TB = 280  BV > TB = 30  DTL แม้ยังไม่มีแผนจะขาย หรือมีแผนจะขาย ไม่รู้ปีไหน ก็ต้องตั้ง DTL = 30 x 20% = 6 บาท

  30. ปมก หนี้สินฯ: (ก่อนลงมือทำ ให้ถือว่า TB = 0) BV = 1,230 , TB = 0  BV > TB= 1,230  DTA แต่อย่าเพิ่งตั้ง ต้องมั่นใจ ในปีที่พนักงานกาเสียน จะมีกำไรพอที่จะนำเงินชดเชยที่จ่ายจริงไปหักทางภาษี ปัญหาทางปฏิบัติ ระบบงบประมาณทำครอบคลุม 3-5 ปี แต่พนักงานหลายคนกาเสียนหลังระยะเวลางบประมาณ ทำให้มีตัวเลขงบประมาณไม่พอ support ว่ากำไรทำได้จริงหรือเปล่า ในแง่ของ Big 4 มองว่ามีระยะเวลาครอบคลุมไม่พอ ไม่เป็นไร ขอให้อีดตมีกำไรย้อนหลัง 5-10 ปี และอีก 3-5 ปี ข้างหน้ายังไงก็มีกำไรแน่ หลังจากนั้น ก็จะน่ามีกำไรต่อ (ดูอุตสาหกรรมเข้ามาประกอบ)

  31.  DTA = 1,230 x 20% = 246 DTA ยกมา 248 ตั้งเพิ่ม 18 ยกไป 266

  32. DTL ยกมา 4 ยกไป 41 ตั้งเพิ่มอีก 37

  33. การบันทึกเป็นดังนี้ Dr. DTA 18 cr. รายได้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี -p/l18 (18 บาท ด้านเครดิต นำไปปรับ คชจ ภาษี เพราะรายการที่ทำให้เกิดผลต่างชั่วคราวและนำไปสู่ DTA เป็นรายการที่รับรู้ใน p/l ก่อนรายการ OCI)

  34. Dr. ค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้รอตัดฯ – p/l 35 ค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้รอตัด – OCI 2 cr. DTL 37

  35. งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จบางส่วน31/12/2555งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จบางส่วน31/12/2555 รายได้ ……. หัก ค่าใช้จ่ายภาษี (สุทธิ) (454) (437 -18 +35) กำไรสุทธิก่อนรายการ OCI xx บวก รายการ OCI กำไรไม่เกิดจริงจากหลักทรัพย์เผื่อขาย 10 หัก ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (2) 8

  36. งบดุลบางส่วน31/12/2555 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน DTA 266 หนี้สินหมุนเวียน ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 437 หนี้สินไม่หมุนเวียน DTL 41 ส่วนผู้ถือหุ้น

  37. หากนำ TAS 12 มาใช้ครั้งแรกปี 55 • งบดุลปลายปี 53 ให้ตั้ง DTA/DTL เสมือนว่ายังไม่ทราบว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีในปี 54 (ให้ตั้งด้วย 30%)

  38. DTA กับ DTL สามารถหักกลบได้ ในงบการเงินเฉพาะ ที่ยังไม่ทำงบรวม • แต่ในงบการเงินรวม ห้ามหักกลบระหว่าง DTA กับ DTL

  39. DR. อุษา (บ ช บ Ms in acctg. PHd. Acctg , CPA, CIA, CFA Ms in Law ใครจะเอาข้างบ้าน) • Account.acc.chula.ac.th

  40. มีเงินฝาก ปี อัตราดอกเบี้ย 1 3% 2 3.5% 3 4.75% สมมติว่า อ ผลตอบแทนที่แท้จริง (effective interest rate) = 3.85% หากเงินฝาก = 1,000 บาท

  41. PAEs ก็ต้องทำด้วย • ปีที่ 1 dr. เงินสด 30 ดอกเบี้ยค้างรับ 8.5 cr. ดอกเบี้ยรับ 38.5

  42. หากมีนโยบายชัดเจน ยังไงก็ต้องตั้ง ดู ตย ใน www.fap.or.th - ตั้งครบทุกคน - ใช้เงินเดือนในปัจจุบัน - คำนึงอายุงานที่ผ่านมา/ทั้งหมด - อัตรามรณะเป็น 0 - เก็บ turnover rate แต่ละอายุงาน เอกสารอ้างอิง http://www.fap.or.th/files/announce/fapnews/2012-01-18_01.pdf

  43. 2) หากไม่มีนโยบาย ที่จะจ่าย ถ้าในอดีตไม่มีใครฟ้องร้อง ออกจากงานได้ก็ออกไป  ไม่ต้องตั้ง ปมก หนี้สิน แต่เปิดเผยในหมายเหตุ ว่ากิจการไม่มีนโยบายจ่ายเงินชดเชย จึงไม่ได้พิจารณาตั้ง ปมก หนี้สินฯ

  44. ในทำนองเดียวกัน หลักนี้เอามาใช้ด้านเงินกู้ ที่ อ ดอกเบี้ยลอยตัว

  45. การใช้ component acctg • ไม่ต้องสนใจ สท ถาวร ได้มาก่อน 2554 • สท ถาวร รับมานับแต่ปี 54 ควรต้องคิดค่าเสื่อมแยกตามส่วนประกอบ • เน้นไปที่ core assets ที่มีมูลค่าสูง และเวลาเปลี่ยนส่วนประกอบทีนึง บ่นอ้าว ว่าราคาซู้งสูง

  46. อย่าลืม allocate ตท ทางตรง ลงสู่ส่วนประกอบ Dr. เครื่องบิน – เบาะ xx เครื่องบิน – เครื่องยนต์ xx เครื่องบิน – อื่นๆ xx cr. เจ้าหนี้ xx

  47. สรรพากรรับได้กับ component acctg Dr. อาคาร – หลังคา xx อาคาร – ค่าทาสี xx อาคาร – ระบบสารณู xx อาคาร – อื่นๆ xx cr. งานระหว่างก่อสร้าง xx

  48. เช่น นำอุปกรณ์ราคาทุน 10 ล้านไปติดตั้งในอาคารที่เช่า สัญญา 3 ปี สิ้นปีที่ 3 ต้องรื้อออก หากรายจ่ายที่จะต้องจ่ายในปัจจุบัน เพื่อรื้ออุปกรณ์ = 3 ล้าน dr. อุปกรณ์ 13 cr. เจ้าหนี้ 10 ปมก หนี้สินรื้อ 3

  49. จุดสิ้นคิดค่าเสื่อม • สท สูญหาย • สท เสียหายใช้การไม่ได้ ขายไม่ได้ นอกจากทำลาย • สท จัดประเภทใหม่เป็นถือไว้เพื่อขาย • สท มีการขายออกไป หรือนำไปบริจาค

  50. กรณีส่วนใหญ่ ให้รับรู้ค่าเช่าเส้นตรง • แม้อัตราค่าเช่าคงที่ ปี ค่าเช่า 1 20 2 30 3 130 180/3 = 60

More Related