160 likes | 304 Views
สำนักงบประมาณ. ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ ( Government Evaluation System) (GES) วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 8.30 – 15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 โรงแรมรามาการ์เด้น. ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบ บูรณา การ ( Government Evaluation System) (GES). ที่มา
E N D
สำนักงบประมาณ ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System) (GES) วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 8.30 – 15.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 โรงแรมรามาการ์เด้น สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System) (GES) • ที่มา • ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ความเชื่อมโยงของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน SPBB กับระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (GES) • การดำเนินงานของรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ปัจจุบัน เครื่องมือการติดตามประเมินผลภาครัฐ
ข้อมูลที่ส่วนราชการรายงานในแต่ละปีงบประมาณ (เพิ่มเติม) • การรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี(สงป.301) • รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณตามระบบ GFMIS • รายงานการโอนงบประมาณรายจ่าย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ม. 169 พุทธศักราช 2550 สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
แนวคิดการบูรณาการเครื่องมือประเมินผลของหน่วยงานกลางแนวคิดการบูรณาการเครื่องมือประเมินผลของหน่วยงานกลาง เครื่องมือประเมินผลของหน่วยงานกลาง 10 เครื่องมือ ระบบการประเมินผลของประเทศ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
แนวคิดที่จะลดภาระของส่วนราชการในกระบวนการติดตามและประเมินผล จึงได้มีการหารือร่วมกันระหว่าง ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณและเลขาธิการ ก.พ.ร.เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2553 มีข้อสรุปเบื้องต้นว่าควรมีการบูรณาการระบบการติดตามประเมินผลภาครัฐ เพื่อลดภาระของส่วนราชการ โดยมีกรอบการประเมินผลใน 2 มิติ คือ • มิติภายนอก • มิติภายใน • ซึ่งคือ ที่มาของระบบระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ ( Government Evaluation System ) GES สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์:องค์ประกอบที่สำคัญระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์:องค์ประกอบที่สำคัญ • การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด • การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ • การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ • ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 7
แนวความคิดหลัก(Concept) ของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ STRATEGIG PERFORMANCE BASED BUDGETING : SPBB • (PURCHASER): รัฐบาลเป็นผู้ซื้อสินค้า /บริการ และสำนักงบประมาณเป็นผู้ช่วยรัฐบาลในการพิจารณาตัดสินใจ • (PROVIDER) : หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้ผลิต สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
รัฐบาลต้องสร้างความมั่นใจให้ประชาชนเชื่อมั่นว่า ได้ตัดสินใจซื้อสินค้า / บริการที่มีคุณภาพและประหยัดเพื่อให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากสินค้า/บริการคุ้มค่ากับงบประมาณ (ภาษีของประชาชน) • หน่วยงานภาครัฐที่ผลิตสินค้า / บริการ ต้องผลิตสินค้า / บริการอย่างมีคุณภาพและประหยัดเพื่อเสนอขาย สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงบประมาณมีหน้าที่ช่วยรัฐบาลในการตัดสินใจซื้อสินค้า / บริการจากส่วนราชการ จึงต้องสร้าง/พัฒนาเครื่องมือตรวจวัด ปริมาณและคุณภาพของ สินค้า / บริการ (ผลผลิต) เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์สูงสุดจากสินค้า / บริการของหน่วยงานภาครัฐ • การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) • การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล • การรายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ความเชื่อมโยงของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน SPBB กับระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (GES) • รัฐบาล (ผู้ซื้อ) สินค้า / บริการ (ผลผลิต) ประเมินผลภายนอก ดีที่สุด คุ้มค่าที่สุด เป็นประโยชน์ต่อประชาชนที่สุด SPBB GES หน่วยงานภาครัฐ (ผู้ผลิต) สินค้า / บริการ (ผลผลิต) ประเมินผลภายใน มีคุณภาพ ประหยัด และโปร่งใส สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
1. มิติภายนอก ประกอบด้วย • การประเมินผลกระทบ (โดยให้ สศช. พิจารณาเลือกเฉพาะบางประเด็นที่มีความสำคัญในเชิงนโยบายและสมควรต้องมีการประเมินผล) • การประเมินผลสัมฤทธิ์ (ผลผลิต/ผลลัพธ์) • การประเมินผลประโยชน์ต่อค่าใช้จ่าย ( Benefit-Cost Ratio) หรือ การประเมินผลประสิทธิผลต่อค่าใช้จ่าย ( Cost- Effectiveness ) ( โดยให้สำนักงบประมาณพิจารณาเลือกเฉพาะบางโครงการที่สมควรต้องมีการประเมินผลในเรื่องดังกล่าว) • ด้านคุณภาพพอใจของประชาชนที่มีผลต่อผลประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้บริการ 2. มิติภายใน ประกอบด้วยตัวชี้วัด • ด้านประสิทธิภาพ • ด้านการพัฒนาองค์การ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความสำคัญกับการบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการซึ่งแสดงให้เห็นได้จากรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความสำคัญกับการบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการซึ่งแสดงให้เห็นได้จาก 1. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 21 กันยายน 2553 เรื่องการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ซึ่ง สภาพัฒน์ฯ ได้นำเสนอคณะรัฐมนตรี โดยคณะรัฐมนตรีมีมติมอบให้คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) ไปพิจารณาร่วมกับสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่าและใช้เป็นตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยให้ยกเลิกตัวชี้วัดเดิมที่ไม่จำเป็น สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
มติที่ประชุม ค.ต.ป. ครั้งที่ 4/2553 การประชุม ค.ต.ป. ครั้งที่ 4/2553 เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2553 โดยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) เป็นประธานได้พิจารณาเรื่องมติ ค.ร.ม. เรื่องการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาครัฐ แล้วมีมติสรุปได้ดังนี้ 1 เห็นชอบกับแนวคิดและหลักการในการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาครัฐให้เป็นเอกภาพ โดยกำหนดกรอบตัวชี้วัดในการประเมินผลให้มีจำนวนเท่าที่จำเป็นและสามารถสะท้อนความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อภารกิจและงานบริการของภาครัฐได้อย่างชัดเจน 2 เห็นชอบให้มีระบบสารสนเทศฐานข้อมูลกลางของหน่วยงานภาครัฐขึ้น ทั้งนี้ เพื่อลดปัญหาความซ้ำซ้อนในการจัดทำรายงานของส่วนราชการที่เสนอต่อหน่วยงานกลางที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหารและเพื่อให้การบริหารจัดการข้อมูลของภาครัฐมีประสิทธิภาพ พร้อมต่อการรายงานต่อสาธารณะและการตรวจสอบของประชาชน
ในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการระดับปลัดกระทรวง เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2553 โดยมีนายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)เป็นประธาน ได้พิจารณาระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System) (GES) ตามข้อสรุปของ ค.ต.ป. โดยผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ และ เลขาธิการ ก.พ.ร. ร่วมกันนำเสนอ ซึ่งมีความเห็นที่สอดคล้องกับการประชุมของ ค.ต.ป.ครั้งที่ 4 / 2553 ดังนี้ 1. การออกแบบระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ 2. การจัดระบบสารสนเทศฐานข้อมูลกลางของหน่วยงานภาครัฐ 3. แนวทางการใช้ประโยชน์จากระบบการประเมินผลภาคราชการ แบบบูรณาการ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ 24 มกราคม 2554 เห็นชอบ ตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. เสนอ คือ • เห็นชอบตามความเห็นของ ค.ต.ป. และข้อเสนอแนะของสำนักงบประมาณและสำนักงาน ก.พ.ร. ที่เสนอต่อที่ประชุมปลัดกระทรวงเกี่ยวกับระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System) (GES) • เมื่อดำเนินงานตามระบบประเมินผลดังกล่าวในส่วนราชการแล้ว ให้สำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปพิจารณาปรับใช้ในการประเมินผลของจังหวัดและองค์การมหาชนต่อไป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี