360 likes | 543 Views
การเงินอุดมศึกษา. ธาดา มาร์ติน 6 กรกฎาคม 2550. Backgrounds. Total Enrolment : Undergraduate. Institutions. State Universities : 1,520,000 Private Universities : 250,000. State Universities : 78 Private Universities : 59. Total Enrolment : Post-graduate.
E N D
การเงินอุดมศึกษา ธาดา มาร์ติน 6 กรกฎาคม 2550
Backgrounds Total Enrolment : Undergraduate Institutions State Universities : 1,520,000 Private Universities: 250,000 State Universities : 78 Private Universities: 59 Total Enrolment : Post-graduate State Universities : 180,000 Private Universities: 18,500 Total Graduate : Undergraduate New Enrolment : Undergraduate State Universities : 420,000 Private Universities: 90,000 State Universities : 230,000 Private Universities: 46,000 New Enrolment : Post-graduate Total Graduate : Post-graduate State Universities : 60,000 Private Universities: 7,000 State Universities : 46,500 Private Universities: 4,200
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 34 วรรค 3 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 36 พ.ร.บ.ว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษา สภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการ การอุดมศึกษา สกอ. GoodGovernance Quality Financing
* Each university has different needs and is at different points in its development and learning * University council is responsible for the university’s mission and vision; its fiscal integrity; its financial well-being; its growth and progress * Good governance allows organizations to operate effectively, efficiently and professionally.
Performance Based Budgeting Government policy Top down Output Structure Bottom up Universities
ทรัพยากรอุดมศึกษา เงินงบประมาณ รายได้อื่นของมหาวิทยาลัย • ค่าเล่าเรียน • วิจัยและการบริการวิชาการ • บริหารสินทรัพย์ • งบบุคลากร • งบลงทุน • งบดำเนินการ • งบเงินอุดหนุน • งบวิจัย • เงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
การจัดสรรงบประมาณแก่สถาบันอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2550 7,352.16 ล้านบาท • มหาวิทยาลัยมหิดล • มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 77.11 ล้านบาท
มหาวิทยาลัยมหิดล ล้านบาท
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ล้านบาท
Profile of Government Budget for Universities : 2007 Million Baht Government Student Payment 19,361 14,500 Universities 57,754 Student Loans Fund -Capital Cost -Academic Service -Art & Cultural Education Service &Administration Tuition Other Expenses 9,226 33,596 10,132 13,449 Research & Development Strategic Development 8,364 2,306 (25%) 6,919 (75%) 2,340 5,000 9,500 10,132 Personal expenses Private Universities 11,919 Public Universities 69,560
1% Endowment Funding Modelof State University:Existing Situation 13% Tuition Fees 1% Benefits 8% Others 77% Budget งบประมาณและ เงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ล้านบาท) 2545 2546 2547 2548 2549 2550
University University University โครงการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การจัดการการเงินและการระดมทุนอุดมศึกษา (Financial and Funding Models) คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานบริหารโครงการปฏิรูประบบการเงินเพื่อการอุดมศึกษา
โครงสร้างรายรับของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศโครงสร้างรายรับของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศ พระจอมเกล้าธนบุรี (2549) ธรรมศาสตร์ (2549) สุรนารี (2548) บริการวิชาการ การวิจัย อื่น ๆ งบประมาณ ภาครัฐ งบประมาณ ภาครัฐ งบประมาณ ภาครัฐ เงินรายได้ รายได้อื่น ๆ นักศึกษา ราชมงคลธัญบุรี (2548) ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (2549) รังสิต (2548) งบประมาณ ภาครัฐ งบประมาณ ภาครัฐ รายได้ ผลประโยชน์ นักศึกษา หน่วย: บาท
ประเด็นทางการเงินในอนาคตประเด็นทางการเงินในอนาคต • การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน (Public Private Partnership: PPP) • การหารายได้จากการบริหารสินทรัพย์ (Asset Management) • การลงทุนผ่านกลไกทางการเงินต่างๆ และผลตอบแทนของการลงทุน • การระดมทุนและกู้ยืมผ่านสถาบันการเงิน • การกู้ยืมเพื่อการศึกษารายบุคคล • การกู้ยืมเพื่อการลงทุนของสถาบันอุดมศึกษา
กลไกทางการเงิน ด้านอุปทาน (supply side) ด้านอุปสงค์ (demand side) งบประมาณ • เงินกู้ • กองทุนภาครัฐ • สถาบันการเงินทั่วไป กองทุน สถาบันอุดมศึกษา ค่าใช้จ่าย การศึกษา ผู้ปกครอง Research University Technical University Teaching University 1 2 3 ทุนการศึกษา ตามนโยบาย ค่าใช้จ่ายอื่นๆ • ที่อยู่อาศัย • ค่ากินอยู่ • อื่น ๆ เงินอุดหนุน การให้บริการ เงินบริจาค กองทุน พัฒนาอาจารย์ กองทุน สินทรัพย์ถาวร กองทุน เพื่อการวิจัยและบัณฑิตศึกษา กองทุน อื่น ๆ Semi-Demand Side
การวางแผนและการจัดการการเงินและการระดมทุนการวางแผนและการจัดการการเงินและการระดมทุน กลไกการ วางแผน ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ความต้องการ วิเคราะห์กลุ่ม 1 2 3 ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์กำลังการผลิต ของสถาบันอุดมศึกษา การปรับ Focus และ Alignment ขั้นตอนที่ 3 พิจารณาแนวทาง ขั้นตอนที่ 4 พิจารณาการจัดการ การเงินและการระดมทุน A B C D กลไก การจัดการ การเงินและการ ระดมทุน ด้านอุปทาน (supply side) Semi-Demand Side ด้านอุปสงค์ (demand side) • อาจารย์/บุคลากร • ดำเนินการ(จัดการสอน) • ครุภัณฑ์ • โครงสร้างพื้นฐาน • กองทุนระดับสกอ. • กองทุนระดับสถาบัน อุดมศึกษา • เงินกู้ รัฐบาล กองทุนพัฒนาต่างๆ นักศึกษา
สถาบันอุดมศึกษา Supply side Demand side สงป. สกอ. กองทุน ระดับสกอ. กองทุน สินทรัพย์ถาวร กองทุน เพื่อการวิจัย กองทุนกู้ยืม กองทุน .... กองทุน ... งบประมาณ กองทุนระดับ สถาบันอุดมศึกษา 1 ภาคเอกชน 2 นักศึกษา กองทุน กองทุน คณะ คณะ 3 บุคลากร อุปกรณ์ ข้อมูล 4 • ระดับของกองทุน • 1) กองทุนระดับ สกอ. • 2) กองทุนระดับสถาบันอุดมศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน ... • ช่องทางการสนับสนุน • 1.ให้กู้/ให้ทุนการศึกษากับนักศึกษาโดยตรง • 2.ให้พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมต่างๆ • 3.ให้ผลิตผลงานตามความต้องการเชิงนโยบาย • 4.ให้พัฒนาทรัพยากรของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจ
ภาครัฐ (สกอ./ สงป.) ภาคเอกชน PPP กองทุน ภาคประชาชน สถาบันอุดมศึกษา การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและภาคส่วนต่างๆ การเข้ามาร่วมพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา โดยใช้หลักการของ Public-Private-Partnership (PPP) 1. ระบุลักษณะความขาดแคลนและความต้องการ ที่สถาบันอุดมศึกษาขาดงบประมาณสนับสนุน เช่น การก่อสร้าง ห้องปฏิบัติการ เครื่องมือทดลอง ตำแหน่งอาจารย์ เป็นต้น 2. กำหนดรูปแบบและโครงสร้างการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนที่จะเข้ามาร่วมพัฒนา 3. พิจารณาปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการมีส่วนร่วม เช่น 4.รูปแบบการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน (PPP) ที่เหมาะสมที่ใช้ในการระดมทุน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการของสถาบันอุดมศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูประบบการเงินอุดมศึกษา ปี 2555 (ล้านบาท) 2550 2555 งบประมาณ ค่าเล่าเรียน การวิจัยและบริการวิชาการ
A Need to Reform Funding Modelof State Universities - Cost Sharing - - Expenditure Neutrality - S: Demand-side financing W: Resistance O: Fairness T: Quality incompatibility S: No fiscal constraint W: Compliance O: Economic slowdown T: Political risk - Competitive Bidding - S: Promote competitiveness W: Market-based HE O: Promote KBE/LLL T: Unequal share
Strategies Expenditure neutrality Cost sharing Competitive bidding • Create stakeholders • compliance • Political • commitment • Need-based student • loan • Salary-based • Income Contingent • Loan • Grants & • Scholarships • Securitization of • SLF debt • Promote repayment • Education Fund • Research • Assessment • Exercise scheme • Fund budgeting • Funding agencies • Capacity building • Matching Fund
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษากองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
สรุปการกู้ยืมเงิน ปีการศึกษา 2548
สรุปจำนวนผู้กู้กรอ. ปีการศึกษา 2549
นโยบายรัฐบาลปัจจุบัน ให้ยุติการให้กู้เงินของกองทุน กรอ.ในปีการศึกษา 2550 และให้กลับไปกู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ซึ่งให้กู้ยืมเฉพาะผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และให้บูรณาการกองทุน กรอ.และ กยศ.เข้าด้วยกัน โดยคงส่วนดีของทั้งสองกองทุนไว้
แนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการยุติการให้กู้กองทุนกรอ. ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 1 พ.ค. 2550 • ผู้กู้กรอ.ที่เป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ของกองทุน กยศ. 158,762 ราย ให้ปรับเปลี่ยนสัญญามาเป็นการกู้ยืมแบบ กยศ. ในปีการศึกษา 2550 สามารถกู้ยืมได้ทั้งค่าเล่าเรียนและค่าครองชีพ • 2. ผู้กู้กรอ.ที่ไม่มีคุณสมบัติตามข้อ 1 จำนวน 163,748 ราย ให้สามารถกู้ยืมได้เฉพาะค่าเล่าเรียน
ขอบเขตการกู้ยืมเงินกองทุน กยศ. ปีการศึกษา 2550
การจัดสรรจำนวนผู้กู้รายใหม่และวงเงินกู้กยศ. ปีการศึกษา 2550 ที่มา : อนุกรรมการบัญชีจ่ายที่สอง
วงเงินที่ได้รับจัดสรรสำหรับผู้เคยกู้ กรอ. ปีการศึกษา 2550 กระทรวงการคลังจัดสรรวงเงินสำหรับ ผู้เคยกู้ กรอ. จำนวน 241,983 ราย เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 9,505,750,500 บาท ที่มา : อนุกรรมการบัญชีจ่ายที่สอง
การฟ้องร้องดำเนินคดีกับผู้กู้ยืม กยศ.ที่ค้างชำระหนี้ • ปี 2547 • ดำเนินคดีผู้กู้ที่ค้างชำระหนี้ จำนวน4,589 ราย • ปี 2548 • ดำเนินคดีผู้กู้ที่ค้างชำระหนี้ จำนวน13,787 ราย • ปี 2549 • ดำเนินคดีผู้กู้ที่ค้างชำระหนี้ จำนวน41,636 ราย
ประเด็นข้อผิดพลาดของสถานศึกษาที่พบบ่อยประเด็นข้อผิดพลาดของสถานศึกษาที่พบบ่อย ด้านการเงินและบัญชี 1) สถานศึกษาทำการถอนเงินออกจากบัญชีทั้งจำนวนโดยไม่มีการเปรียบเทียบจำนวนเงินที่กู้ยืมกับจำนวนเงินที่ลงทะเบียนเรียนจริง และไม่ส่งเงินเหลือคืนกองทุน 2) สถาบันไม่จัดทำรายงานการรับจ่ายเงินให้แก่กองทุนฯทุกสิ้นปีงบประมาณ และไม่สามารถหาหลักฐานทางการเงินให้ตรวจสอบได้
ประเด็นข้อผิดพลาดของสถานศึกษาที่พบบ่อยประเด็นข้อผิดพลาดของสถานศึกษาที่พบบ่อย ด้านการดำเนินงานเกี่ยวกับกองทุน 1) สถาบันทำการเฉลี่ยวงเงินให้กู้ยืมแก่ผู้กู้ทุกคนเท่าๆ กัน 2) สถาบันไม่พิจารณาคุณสมบัติของผู้กู้รายเก่า 3) สถาบันไม่จัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาเงินให้กู้ยืมประจำสถานศึกษา 4) สถานศึกษามีการอนุมัติให้ผู้ขอกู้ยืมที่มีรายได้ครอบครัว เกิน 150,000 บาท/ปี กู้ยืมเงินกองทุนฯ 5) ผู้รับรองรายได้ไม่มีคุณสมบัติตามที่กองทุนฯกำหนด
ประเด็นปัญหาที่เสนอต่อคณะกรรมาธิการติดตามผล การใช้จ่ายเงินงบประมาณของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ประเด็นที่ 1ความรวดเร็วในการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการยุบรวมกองทุน กรอ. เนื่องจากมีนักศึกษาจำนวนมากที่ได้รับผลกระทบจากการยุบรวมกองทุนในครั้งนี้ และมีเรื่องร้องเรียนมาที่สกอ.เป็นจำนวนมาก เนื่องจากเป็นเวลาใกล้เปิดเทอมและนักศึกษาต้องเร่งชำระค่าเล่าเรียน
ประเด็นปัญหาที่เสนอต่อคณะกรรมาธิการติดตามผล การใช้จ่ายเงินงบประมาณของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ประเด็นที่ 2ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับกองทุน กรอ. ว่าเป็นการช่วยเหลือนักศึกษาที่มีฐานะดีและทำให้เกิดความ ไม่ยุติธรรมต่อนักศึกษาที่มีฐานะยากจน ซึ่งเมื่อพิจารณาจากข้อเท็จจริงแล้วพบว่า นักศึกษาจำนวน 158,762 รายที่เป็นผู้มีฐานะยากจนตรงตามหลักเกณฑ์ของกองทุน กยศ. จึงแสดงว่ากองทุนกรอ. และ กยศ. เอื้อประโยชน์แก่ผู้ที่มีฐานะยากจนเป็นส่วนใหญ่