1 / 17

พงศภัค ตรีรัตนาเศรษฐ์

การคำนวณค่าภาษีสรรพสามิต ( รายละเอียดดูจากคำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่๕/๒๕๕๗ ซึ่งมีผลตั้งแต่ ๑พฤษภาคม ๒๕๕๗เป็นต้นไป ). พงศภัค ตรีรัตนาเศรษฐ์ คณะทำงานตรวจสอบติดตามการปฏิบัติงานในระบบการให้บริการพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์.

Download Presentation

พงศภัค ตรีรัตนาเศรษฐ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณค่าภาษีสรรพสามิต(รายละเอียดดูจากคำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่๕/๒๕๕๗ ซึ่งมีผลตั้งแต่ ๑พฤษภาคม ๒๕๕๗เป็นต้นไป) พงศภัค ตรีรัตนาเศรษฐ์ คณะทำงานตรวจสอบติดตามการปฏิบัติงานในระบบการให้บริการพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์

  2. พรบ.สุรา พ.ศ. 2593 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556การแก้ไขและเพิ่มบทนิยามแก้ไขบทนิยามคำว่า “สุราแช่” และ “สุรากลั่น”เพิ่มบทนิยามคำว่า “ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย”แก้ไขเพิ่มเติมบัญชีอัตราภาษีสุรา แก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเสียภาษีสรรพสามิต

  3. แก้ไขบทนิยามคำว่า “สุราแช่” และ “สุรากลั่น”สุราแช่ หมายความว่า สุราที่ไม่ได้กลั่นและให้หมายความรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้วแต่ยังมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรีด้วย เช่น เบียร์ ไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่พื้นเมือง เป็นต้นสุรากลั่น หมายความว่า สุราที่ได้กลั่นแล้วและให้หมายความรวมถึงสุรากลั่นที่ได้ผสมกับสุราแช่แล้วแต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรีด้วย เช่น สุราสามทับ สุราขาว สุราผสม สุราปรุงพิเศษ และสุราพิเศษ เป็นต้น

  4. สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่

  5. สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่

  6. สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่

  7. สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่

  8. สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่

  9. สรุปสาระสำคัญของพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556 กำหนดชนิดของสุราและอัตราภาษีสุราใหม่

  10. การคำนวณภาษีสรรพสามิตสุราแบบเดิม(ราคา CIF + อากรขาเข้า + ค่าธรรมเนียมอื่นๆ) x te = ภาษีสรรพสามิต (1 - (1.1 x te))ไวน์อัตราภาษีสรรพสามิต 60% ค่าตัวคูณ = 1.7647059 การคำนวณ =(ราคา CIF + อากรขาเข้า + ค่าธรรมเนียมอื่นๆ) x 1.7647059 = ภาษีสรรพสามิตา

  11. พรบ.สุรา พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2556แบบใหม่ไม่ใช้ราคา CIF ในการคำนวณแต่ ใช้ราคาขายส่งช่วงสุดท้าย หมายถึงผู้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร ตาม ม.6 ได้ขายสุราให้แก่ผู้ขายปลีก โดยรวมค่าขนส่งหรือค่าบริการอย่างอื่น ทั้งนี้ต้องเป็นราคาตามปกติในทางธุรกิจโดยสุจริตและเปิดเผย โดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม(ดูเพิ่มเติมคำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่๕/๒๕๕๗)แบบเดิมเสียภาษีตามมูลค่า หรือตามปริมาณ แล้วแต่ว่าอัตราใดจะคำนวณได้สูงกว่าแบบใหม่เสียภาษีทั้งอัตราตามมูลค่าและตามปริมาณ

  12. แบบใหม่เสียภาษีทั้งอัตราตามปริมาณ และตามมูลค่า โดยมีวิธีการคำนวณดังนี้ 1 . คำนวณตามปริมาณ จะคำนวณ 2 แบบ คือ 1. ตาม อัตราตามลิตรแห่งแอลกอฮอล์ 2. ตาม อัตราตามลิตร ๓. ทั้งนี้ค่าภาษีที่ได้ตาม ๑ และ ๒ เปรียบเทียบจำนวนใดสูงกว่าให้ใช้มูลค่าจำนวนนั้น ๔. คำนวณตามดีกรีที่สูงกว่า จากที่กำหนดไว้ในอัตราภาษี (ดีกรีที่เกินกว่ากฎหมายกำหนด) รวมมูลค่าภาษีตามปริมาณ เท่ากับ ๓+๔ ๒. คำนวณตามมูลค่า ราคาขายช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT x อัตรา รวมค่าภาษีสรรพสามิตสุราทั้งหมดเท่ากับ มูลค่าภาษีตามปริมาณ (๓+๔) + ภาษีตามมูลค่า

  13. สรุปการคำนวณค่าภาษีสรรพสามิตแบบใหม่สรุปการคำนวณค่าภาษีสรรพสามิตแบบใหม่ ภาษีตามมูลค่า 1. ภาษีตามปริมาณ (ต่อลิตรแอลกอฮอล์) ดีกรี x ขนาดบรรจุ x อัตราภาษีต่อลิตรแอลกอฮอล์ 100 ราคาขายช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT x อัตรา 2. ภาษีตามปริมาณ (ต่อลิตร) ๓ ขนาดบรรจุ x อัตราภาษี บาท/ลิตร เปรียบเทียบข้อ 1 และ 2 จำนวนใดสูงกว่า = ๑ 3. คำนวณภาษีสุราดีกรีเกิน (ถ้ามี) ดีกรีส่วนที่เกิน x ขนาดบรรจุ x อัตราภาษี = ๒ ๒ ภาษีทั้งหมด = + + ๑ ๓ นอกจากนี้ยังมีค่า - ภาษีเพื่อมหาดไทย 10 % ของภาษีสรรพสามิต - เงินบำรุงกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 2 % ของภาษีสรรพสามิต - เงินบำรุงองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย 1.5 % ของภาษีสรรพสามิต

  14. แบบฟอร์มแนบใบขนสินค้าขาเข้าชำระภาษีสุรา ในวันที่1 พฤษภาคม จะใช้แบบฟอร์มนี้แนบใบขนฯพร้อมกับคำสั่งและประกาศกรมศุลกากร จนท.ต้องตรวจสอบและเซ็นต์กำกับ ในระยะต่อไปเมื่อมีการพัฒนาของ software house แล้ว แบบฟอร์มนี้จะอยู่ในระบบ e- importต่อไป

  15. ตัวอย่าง บริษัท A นำเข้าสุราแช่ชนิดเบียร์ แรงแอลกอฮอล์ 9 ดีกรี ขนาดบรรจุ 3.30 ลิตร ราคา CIF 15 บาท ผู้นำเข้ายื่นราคาขายช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT กับสรรพสามิต กระป๋องละ 56.00 บาท การคำนวณภาษีตามปริมาณ 1. ภาษีตามปริมาณ (ลิตรแห่งแอลกอฮอล์) = ดีกรี x ขนาดบรรจุ x (อัตราภาษีบาท/ลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์) 100 = 7 x 0.330 x 155 = 3.5805 100 2. ภาษีตามปริมาณ (อัตราภาษีบาท/ลิตร) = ขนาดบรรจุ x อัตราภาษีบาท/ลิตร = 0.330 x 8 = 2.64 เทียบ 1. และ 2. ได้ค่าภาษี=3.5805 3. คำนวณภาษีสุราดีกรีเกิน ภาษีสุราตามปริมาณ = ดีกรีเกิน x ขนาดบรรจุ x อัตราภาษี (3 บาท/ลิตร) = (9 - 7) x 0.330 x 3 = 1.98 4. ภาษีสุราตามปริมาณทั้งหมด = 3.5805 + 1.98 = 5.5605

  16. การคำนวณภาษีตามมูลค่าการคำนวณภาษีตามมูลค่า ภาษีตามมูลค่า = ราคาขายส่งช่วงสุดท้ายไม่รวม VAT x อัตราภาษี = 56 x 48% = 26.880 ภาษีสุราทั้งหมด = ภาษีสุราตามปริมาณ + ภาษีสุราตามมูลค่า = 5.5605 + 26.880 = 32.4405 ภาษีเพื่อมหาดไทย = 32.4405 x 10% = 3.2440 ภาษีกองทุนสุขภาพ = 32.4405 x 2% = 0.6488 ภาษีเพื่อการแพร่ภาพฯ = 32.4405 x 1.5% = 0.4866 รวมภาระภาษีสุราและเงินกองทุน = 32.4405 + 3.2440 + 0.6488 + 0.4866 = 36.8199 ต้นทุนกำไรของผู้นำเข้าจนถึงผู้ขายส่งช่วงสุดท้าย = 56 - 36.8199 = 19.1801 บาท

  17. ที่กล่าวมาเป็นการคำนวณภาษีสรรพสามิต และภาษีเพื่อมหาดไทย เงินกองทุนเพื่อสุขภาพ และกองทุนเพื่อการแพร่ภาพ ซึ่งไม่เกี่ยวกับภาษีศุลกากร • ภาษีศุลกากรคำนวณจากราคา CIF • ภาษีมูลค่าเพิ่ม =(ราคาศุลกากร CIF+ภาษีศุลกากร+ภาษีสรรพสามิต ตามการคำนวณจากราคาขายส่งช่วงสุดท้าย +ค่าภาษีอื่นๆและค่าธรรมเนียม(ถ้ามี)+ภาษีเพื่อมหาดไทย) คูณด้วยอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม ( ดูข้อ ๖.๔.๑ คำสั่งทั่วไปกรมศุลกากรที่ ๕/๕๗ซึ่งยังคงเหมือนเดิมตามที่เคยปฏิบัติกันมา)

More Related