540 likes | 1.28k Views
ระบบบริหารความเสี่ยง และการพัฒนาคุณภาพอย่างเชื่อมโยงตามมาตรฐาน HA. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. 3P (PDSA) คือ Basic Building Block ของการพัฒนา. Plan/Design -> Do. เราทำงานกันอย่างไร ทำไปเพื่ออะไร. ทำได้ดีหรือไม่. ทำไมต้องมีเรา. Purpose. Process. Performance. Study/Learn.
E N D
ระบบบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาคุณภาพอย่างเชื่อมโยงตามมาตรฐาน HA
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 3P (PDSA) คือ Basic Building Block ของการพัฒนา Plan/Design -> Do เราทำงานกันอย่างไร ทำไปเพื่ออะไร ทำได้ดีหรือไม่ ทำไมต้องมีเรา Purpose Process Performance Study/Learn จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร Act/Improve
Risk Management การบริหารความเสี่ยง
เป้าหมาย • โรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยแก่ผู้มารับบริการ ญาติและเจ้าหน้าที่ • ระดับบุคคล : เจ้าหน้าที่รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความเสี่ยง • หน่วยงาน/รพ. • มีการเฝ้าระวังและการค้นหาความเสี่ยง • มีมาตรการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง • หน่วยงานสามารถจัดการกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รู้จัก….ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงระดับหน่วยงาน การบริหารความเสี่ยงระดับโรงพยาบาล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM
อะไรคือ ความเสี่ยง ความเสี่ยงคือ โอกาสที่จะประสบกับ……… • การบาดเจ็บ/ความเสียหาย (harm) • เหตุร้าย (hazard) • อันตราย (danger) • ความไม่แน่นอน (uncertainty) • การ exposed organ • ความสูญเสีย (loss) อะไรคือ • เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ Adverse Event (AE)
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ Adverse Event (AE) • เป็นเหตุการณ์หรือสภาวะทีไม่คาดหวังจากกระบวนการต่างๆในการบริการทางการแพทย์ ทีมีผลกระทบต่อ คนไข้ วิชาชีพ องค์กร ชุมชน • ได้มาจากเหตุการณ์จริง เช่น การเกิดภาวะแทรกซ้อน การบาดเจ็บ การร้องเรียน • ปัญหาเกิดได้ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ทีมีความสำคัญคือ AE ที่มี HARM การสูญเสียโครงสร้างหรือการสูญเสียการทำหน้าที่ของร่างกายหรือจิตใจ ซึ่งอาจเป็นการสูญเสียชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
การสูญเสียโครงสร้างหรือการสูญเสียการทำหน้าที่ของร่างกายหรือจิตใจ ซึ่งอาจเป็นการสูญเสียชั่วคราวหรือถาวรก็ได้ ที่ใช้กันมากคือ ระดับความรุนแรงของความคลาดเคลื่อนที่ NCC MERP (กำหนดขึ้นมาประยุกต์ใช้ โดยเลือกนับเฉพาะเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดอันตราย (harm) ต่อผู้ป่วยเท่านั้น ตั้งแต่ A-I National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention
Harm การสูญเสียโครงสร้างหรือการสูญเสียการทำหน้าที่ของร่างกายหรือจิตใจ ซึ่งอาจเป็นการสูญเสียชั่วคราวหรือถาวรก็ได้ อันตรายในที่นี้จึงได้แก่หัวข้อ E, F, G, H, และ I ของ NCC MERP Index E: อันตรายชั่วคราวต่อผู้ป่วยซึ่งต้องให้การบำบัดรักษา F: อันตรายชั่วคราวต่อผู้ป่วยซึ่งต้องทำให้นอนโรงพยาบาลนานขึ้น G: อันตรายถาวรต่อผู้ป่วย H: ต้องรับการบำบัดรักษาเพื่อช่วยชีวิต I: ผู้ป่วยเสียชีวิต
Risk Management การบริหารความเสี่ยง • กระบวนการบริหารความเสี่ยง • ระบบบริหารความเสี่ยง • การบริหารความเสี่ยงและความเชื่อมโยงกับการปรับปรุงคุณภาพและการประกันคุณภาพ RM CQI/QA สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM
Risk Management 1.กระบวนการบริหารความเสี่ยง • การค้นหาความเสี่ยง • การประเมินความเสี่ยง ระดับความรุนแรง ระดับความถี่บ่อย • การจัดการกับความเสี่ยง • การประเมินผล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM
กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ประเมินความเสี่ยง การจัดการกับความเสี่ยง ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินผลระบบ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM
การค้นหาความเสี่ยง • การค้นหาเชิงรุก • การตรวจสอบ เช่น ENV Round IC Round Risk Round การทบทวนเวชระเบียน การค้นหาจากกระบวนการทำงาน การทำกิจกรรมทบทวน • การค้นหาแบบตั้งรับ • รายงานต่างๆ เช่น รายงานอุบัติการณ์ รายงานเวรตรวจการ บันทึกประจำวันของหน่วยงาน เป็นต้น
แนวทางการประเมินความเสี่ยงแนวทางการประเมินความเสี่ยง พิจารณาจาก : โอกาสเกิดเหตุการณ์/ความสูญเสีย • มีความถี่และรุนแรงมากน้อยเพียงใด • มีผลทางคลินิกอย่างไร/ก่อให้เกิดความสูญเสียเท่าใด • มีผลต่อองค์กรอย่างไร IMPACT
ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่1ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่1 • ระดับ A เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน • ระดับ B เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น แต่ยังไม่ถึงผู้ป่วย • ระดับ C เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย แต่ไม่ทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตราย • ระดับ Dเกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้ต้องมีการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย • ระดับ E เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว และต้องมีการบำบัดรักษา
ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่1ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่1 • ระดับ F เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว และต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้น • ระดับ G เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย • ระดับ H เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้ต้องทำการช่วยชีวิต • ระดับ I เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่ 2 • ระดับ 0 : เป็นเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน แต่ยังไม่ถึงผู้รับบริการ/ผู้ปฏิบัติงาน (Nearmiss) • ระดับ 1 : ผู้รับบริการ/ผู้ปฏิบัติงาน ได้รับผลกระทบแต่ไม่ต้องเฝ้าระวังหรือรักษา • ระดับ 2 : ผู้รับบริการ/ผู้ปฏิบัติงาน ได้รับผลกระทบ ส่งผลให้ต้องมีการดูแลหรือเฝ้าระวัง เพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตราย • ระดับ 3 : ส่งผลให้เกิดอันตรายถาวร ต้องทำการช่วยชีวิต และถึงแก่ชีวิต
ระบบรายงานอุบัติการณ์ระบบรายงานอุบัติการณ์ • มีคำจำกัดความของอุบัติการณ์/เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ของรพ. • มีแนวทางที่ชัดเจนว่า ในกรณีใดที่จะต้องรายงาน • กำหนดผู้มีหน้าที่ในการเขียนรายงาน • กำหนดเส้นทางเดินของรายงานที่รัดกุม เป็นหลักประกันในการรักษาความลับ และไม่อนุญาตผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ • การสร้างความเข้าใจว่า การแก้ปัญหานี้มิใช่การลงโทษ
ประเภทของรายงานอุบัติการณ์ประเภทของรายงานอุบัติการณ์ • เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง (Sentinel events) • เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse events) • เหตุการณ์ผิดปกติ
จัดระบบเพื่อป้องกัน/แก้ไขความเสี่ยงจัดระบบเพื่อป้องกัน/แก้ไขความเสี่ยง • จัดระบบที่สามารถป้องกันความผิดพลาด • จัดระบบค้นหาความผิดพลาดให้ปรากฏเพื่อ หยุดยั้งได้ทัน • จัดระบบที่จะลดความรุนแรงของ ความเสียหาย จากความผิดพลาด
การประเมินผล/เฝ้าระวังความเสี่ยงการประเมินผล/เฝ้าระวังความเสี่ยง • การทบทวนระบบ/กระบวนการที่ได้วางไว้/ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ๆ • สามารถบอกประสิทธิภาพของระบบบริหารความเสี่ยงได้ เช่น • จำนวน และประเภท risk/อุบัติการณ์/อุบัติเหตุ • อัตราของความเสี่ยง/อุบัติการณ์ตามกลุ่มประเภทความเสี่ยง/ความรุนแรง • ระดับความรุนแรง • อัตราการเกิดซ้ำ ฯ
2. ระบบบริหารความเสี่ยง Risk Management • โปรแกรมที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง • การบริหารความเสี่ยงในหน่วยงาน • การประสานกิจกรรมบริหารความเสี่ยง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM
โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง • ความเสี่ยงทางคลินิค • ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม • ความปลอดภัยจากการใช้ยา • อาชีวอนามัยและความปลอดภัย • การควบคุม/เฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล • การป้องกันอัคคีภัย/อุบัติภัย • อื่นๆ(ตามที่โรงพยาบาลกำหนด)
3. การบริหารความเสี่ยงและความเชื่อมโยงกับการปรับปรุงคุณภาพและการประกันคุณภาพ รักษามาตรฐานและ ยกระดับคุณภาพ การดูแลผู้ป่วย หรือ ระบบ หรือ Key Process ต่างๆ RM QA/CQI บาดเจ็บ ทรัพย์สินสูญเสีย การป้องกันปัญหาควบคุมความสูญเสีย การตอบสนอง
II – 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ (Risk, Safety, and Quality Management System) มีระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ ของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกัน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ. ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย 1 ประสาน โปรแกรมความเสี่ยง ระบบสารสนเทศ 6 ประเมิน ประสิทธิผล ปรับปรุง แก้ปัญหา 3 5 4 ค้นหาและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง กำหนดมาตรการป้องกัน, สื่อสาร, สร้างความตระหนัก ระบบรายงานอุบัติการณ์ รายงาน วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ วิเคราะห์สาเหตุ 2 1 พัฒนาคุณภาพการดูแล สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทบทวนการดูแลผู้ป่วย กำหนดกลุ่ม/วัตถุประสงค์ กำหนด KPI ใช้วิธีการที่หลากหลาย 2 ข. คุณภาพการดูแลผู้ป่วย 3 4
ประเด็นสำคัญของมาตรฐานประเด็นสำคัญของมาตรฐาน • มีการประสานระหว่างโปรแกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารความเสี่ยง - ความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่และ อาชีวอนามัย - ระบบรักษาความปลอดภัย( security) - การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล - ความเสี่ยงในการดูแลผู้ป่วย ( clinical risk) - การจัดการกับคำร้องเรียน • มีการเชื่อมโยงระบบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความเสี่ยง ( risk MIS)
ประเด็นสำคัญของมาตรฐานประเด็นสำคัญของมาตรฐาน • มีการจัดการกับความสูญเสีย/ความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ • ทุกหน่วยงานวิเคราะห์ความเสี่ยงของตนเอง • มีการกำหนดมาตรการป้องกันที่รัดกุม • มีการเฝ้าระวัง/ระบบรายงานอุบัติการณ์
บทบาทคณะกรรมการ RM • กำหนดทิศทาง นโยบายและติดตามประเมินผลว่าระบบที่ใช้อยู่นั้นมีประสิทธิภาพเพียงใด • สามารถป้องกันและจัดการกับความเสี่ยงหรือความสูญเสียได้ดีเพียงใด • ทำหน้าที่ประสานเชื่อมโยงกิจกรรมและข้อมูลข่าวสารระหว่างโปรแกรมต่างๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของความเสี่ยงทั้งโรงพยาบาล • ให้ความช่วยเหลือแก่หน่วยงานต่างๆเพื่อสร้างความเข้าใจ และสงบความไม่พึงพอใจแก่ผู้สูญเสียให้เร็วที่สุด
ผู้จัดการความเสี่ยง มีหน้าที่ประสานกิจกรรมบริหารความเสี่ยงของรพ. ที่เป็นรายงานประจำวัน ได้แก่ • การรวบรวมและวิเคราะห์รายงานอุบัติการณ์ • การประสานกับคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงนั้นๆ • การติดตามประเมินผลการจัดการ • การให้ความรู้และสร้างความตระหนัก • การประสานงานด้านกฎหมาย