220 likes | 384 Views
คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน. แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน. โดย. นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร. 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ. 5. ชุดดิน. 1. Demand-Supply. 2. สถานที่ตั้งโรงสี.
E N D
คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืนคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน โดย นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ 5. ชุดดิน 1. Demand-Supply 2. สถานที่ตั้งโรงสี 3. ระบบชลประทาน
คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืนคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน อำนาจหน้าที่ 1.บริหารการผลิตสินค้าข้าวตามความเหมาะสมทรัพยากร 2.สำรวจ ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูลการบริหารจัดการสินค้าข้าว 3. วิเคราะข้อมูลเชิงพื้นที่ และบูรณาการส่งเสริมองค์ความรู้ 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ 4.ประชาสัมพันธ์ และสร้างเครือข่าย 5. ชุดดิน 5.ติดตาม และประเมินผล 1. Demand-Supply 2. สถานที่ตั้งโรงสี 3. ระบบชลประทาน บูรณาการ 1. ผวจ. 2. ส่วนราชการ 3. สภาหอการค้าจังหวัด 4. สภาหออุสหกรรมจังหวัด 5. สภาเกษตรกร 6. สถาบันการศึกษา 7. โรงสีท้องถิ่น 8. กลุ่มผู้ประกอบการค้าข้าว 9. ธ.ก.ส.
คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน (ต่อ) ขั้นตอนการดำเนินงาน (เลขาฯ) 1. ตั่งคณะทำงานฯ - ข้อมูลชุดดิน - แหล่งน้ำ - ที่ตั้งโรงสี - โกดังคลังสินค้า - ผลผลิตต่อไร่ - พันธุ์ข้าว - พื้นที่ปลูก - จำนวนเกษตรกร - Demand-Supply 2. เชิญประชุม 3. วางแผน และแบ่งงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ 4. ชนิดพันธุ์ที่ตลาดต้องการ 5. รายงานผลให้ กสก. 5. ชุดดิน 1. Demand-Supply 2. สถานที่ตั้งโรงสี 3. ระบบชลประทาน
รูปแบบการบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่รูปแบบการบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ กรณีตัวอย่าง จังหวัดสุพรรณบุรี
กรมส่งเสริมการเกษตร นำระบบMRCF System มาใช้ในการส่งเสริม
MRCFSystem M : Mappingศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเตรียมเข้าทำงาน ในพื้นที่โดยเน้นการใช้ข้อมูลแผนที่ R : Remote Sensing ประสานและให้บริการเกษตรกรด้วย วิธีการติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลจาก ระยะไกล C : Community Participation ใช้วิธีการจัดเวทีชุมชนในการทำงาน และร่วมดำเนินการกับเกษตรกรชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแบบมีส่วนร่วม F : Specific Field Service เข้าทำงานในพื้นที่แบบเฉพาะเจาะจง โดยมีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
มีข้อมูลพื้นที่ พื้นที่ทั้งหมด 5,358.008 ตร.กม3,348,755 ไร่ - ชลประทาน - ชุดดิน - แหล่งน้ำ - โซนนิ่งการเกษตร
มีข้อมูลเกษตรกร Smart farmer ต้นแบบ (ด้านข้าว) 10 คน เกษตรกร 87,412 ครัวเรือน ผ่านการสำรวจ 85,476 ครัวเรือน ชาวนา 59,111 ครัวเรือน Smart Farmer 6,016 ครัวเรือน ต้นแบบด้านข้าว 64 ครัวเรือน Developing 53,095 ครัวเรือน -
การผลิตข้าวของจังหวัดสุพรรณบุรีการผลิตข้าวของจังหวัดสุพรรณบุรี ข้าวนาปี 1,394,342 ไร่
S3 ข้าว ซ้อนทับ S3
SUPPLY สถานการณ์การผลิตข้าว ผลผลิตรวม/ปี 2,107,233 ตัน พื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง 1,133,969 ไร่ ผลผลิต 963,973 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 850 กก.ต่อไร่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปี 1,394,342 ไร่ ผลผลิต 1,143,360 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 820 กก.ต่อไร่
SUPPLY ผลผลิตข้าว 2,107,233 ตัน • ทำเมล็ดพันธุ์ข้าว 20%= 421,446 ตัน • แปรรูปเพื่อบริโภคในครัวเรือน/ชุมชน 5 % = 105,631 ตัน • ขายโรงสี ต่างๆ 75 % = 1,580,155 ตัน
Demand โรงสีข้าว ในจังหวัดสุพรรณบุรี มากกว่า 120 แห่ง มีกำลังการผลิต 7,800,415 ตัน/ปี ผลผลิตข้าวภายในจังหวัดส่งโรงสี 1,580,155 ตัน/ปี ต้องซื้อข้าวเปลือกจากพื้นที่อื่น > 5,000,000 ตัน/ปี
พื้นทีโซนนิ่งที่เหมาะสมในการปลูกข้าว S1+S2 จำนวน 1,904,038 ไร่ • พื้นที่โซนนิ่ง ที่ไม่เหมาะสม S3+N จำนวน 1,444,447 ไร่ • พื้นทีปลูกข้าวในพื้นที่เหมาะสม S1+S2 จำนวน 1,121,062 ไร่ • พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม S3+N จำนวน 210,605 ไร่
สรุปแนวทางในการพัฒนา - ในพื้นที่ (S1 + S2)ที่ปลูกข้าว เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน - พื้นที่ไม่เหมาะสม (S3+N) เปลี่ยนพื้นที่ปลูก