170 likes | 472 Views
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ เครือข่ายจังหวัดสงขลา. นพ . ภควัต จุลทอง โรงพยาบาลหาดใหญ่. เป้าหมาย. อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อแสนประชากรลดลง อัตราตายผู้บาดเจ็บที่ศีรษะลดลง อัตราตายผู้บาดเจ็บหลายระบบลดลง. แผนพัฒนา. ฐานข้อมูลการบาดเจ็บ
E N D
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน (Service Plan)สาขาอุบัติเหตุ เครือข่ายจังหวัดสงขลา นพ.ภควัต จุลทอง โรงพยาบาลหาดใหญ่
เป้าหมาย • อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อแสนประชากรลดลง • อัตราตายผู้บาดเจ็บที่ศีรษะลดลง • อัตราตายผู้บาดเจ็บหลายระบบลดลง
แผนพัฒนา • ฐานข้อมูลการบาดเจ็บ • ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน • การดูแลผู้บาดเจ็บทางสมอง • การดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ
ฐานข้อมูลการบาดเจ็บ • 1. IS :รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา รพ.นาทวี • 2. ฐานข้อมูลการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ:รพ.ชุมชน
อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน เครือข่ายบริการที่ 12
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน • ผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉิน (สีแดงและสีเหลือง) ได้รับResponse Time ภายใน 10 นาที หลังได้รับแจ้งเหตุ (EMS) - ปี 2556 87.28% - ปี 2557 88.57 % • Response ภายใน 8 นาที เป็นอันดับสองของประเทศ • เป็นตัวแทนหน่วย ALS เพื่อเข้าแข่งขัน EMS rally
การดูแลผู้บาดเจ็บทางสมองการดูแลผู้บาดเจ็บทางสมอง • มีแนวทางการดูแลผู้บาดเจ็บทางสมองใช้ในทุกโรงพยาบาล
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วย Complete Neuro Care และ Multiple Trauma เครือข่ายบริการที่ 12 • กลุ่มเป้าหมาย • 1. บุคลากรเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12 จำนวน 160 คน • 2. บุคลากรโรงพยาบาลสงขลา /รพช.จังหวัดสงขลา / รพ.กรุงเทพหาดใหญ่ / • รพ.ศิครินทร์ /รพ.ราษฎร์ยินดี /รพ.มูลนิธิมิตรภาพสามัคคี / ศูนย์เทศบาล และรพสต.อ.หาดใหญ่ จำนวน 40 คน • ระยะเวลาดำเนินการ : วันที่ 17-19 มีนาคม 2557 • สถานที่ดำเนินการ : รพ.หาดใหญ่ • งบประมาณ : 129,200 บาท
การดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบการดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ โรงพยาบาลชุมชน • Penetrating abdomen with shock refer in 30 minutes • Blunt abdomen with shock refer in 60 minutes
โรงพยาบาลสงขลา • มีการพัฒนาการใช้คะแนนประเมินความรุนแรงของอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ(TRISS ) พบว่า TRISS < 0.25 มีจำนวนมากที่สุด คือ 25 % เป็นกลุ่ม Non - Preventable death • รองลงมา TRISS 0.50-0.75 มีจำนวน 16.66 % เป็นกลุ่ม ที่ถือว่า Preventable death • ได้นำเข้าทำ Trauma Audit พบว่า การส่งผู้ป่วยไป OR ล่าช้า ผู้ป่วยอยู่ใน ER เฉลี่ย 2 ชั่วโมง 27 นาที • สาเหตุจาก การทำหัตถการ เช่น การใส่ NG tube / Foley ,s Catheter , การทำ Cut down , การส่งตรวจพิเศษ รออ่านผล CT ,ได้รับเลือดช้า
แนวทางการพัฒนา 1.การทำหัตถการ เช่น การใส่การใส่ NG tube / Foley ,s Catheter , Cut down ให้ส่งผู้ป่วยทำได้ที่ OR 2. การอ่านFilm ใช้ระบบ PACS สามารถอ่านได้ที่ OR / การ CT ให้ส่งทาง Electronic file รังสีแพทย์แจ้งผลการ อ่าน ทาง Online ภายในเวลา 15 – 30 นาที 3. ผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypovolemic Shock สามารถได้รับเลือดกรณีเร่งด่วน ภายใน 15 – 20 นาที 4.ผู้ป่วยที่ผล FAST +VE แพทย์พิจารณาส่ง OR ทันที เพื่อทำ DPL / Explor - lap 5.ทบทวนแนวปฏิบัติ Case Multiple Injury ( เน้น ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ / บาดเจ็บทรวงอกและช่องท้อง )จากการทบทวนผู้ป่วยเสียชีวิต พบว่าเป็นกลุ่มที่มี TRISS 0.06 - 0.50 6.ผู้บริหารมีนโยบาย พัฒนาการผ่าตัดนอกเวลา มีทีมผ่าตัดเพิ่ม ทำให้ผู้ป่วยวิกฤต สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้เร็วขึ้น • หลังจากมีการพัฒนาพบว่า ค่าเฉลี่ย การส่งผู้ป่วย จาก ER ไป OR ผู้ป่วย Blunt Injury เฉลี่ย 30.16 นาที / ผู้ป่วยPenetrating เฉลี่ย 15 นาที ส่งผลให้ใน ปี2555 , 2556อัตราการเสียชีวิตของผู้บาดเจ็บที่มี PS >0.75= 0 , 1 ราย
ผลการพัฒนาที่สำคัญ 1. การพัฒนาการใช้คะแนนประเมินความรุนแรงของอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ(TRISS) 2. มีการทบทวนและพัฒนาการดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ ในการสัมมนา Trauma Audit ร่วมกับโรงพยาบาลภายในเครือข่าย ทุก 2 เดือน 3.การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยร่วมกันในเครือข่ายเขต 12 เรื่อง แนวทางการดูแล และส่งต่อผู้ป่วยMultiple injury with SHI,แนวทางการดูแลผู้ป่วย Penetrating Abdominal injury with shock 4. มีการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ Bird’s การให้ออกซิเจน ชนิดต่างๆ การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ในโรงพยาบาลเครือข่ายทุกแห่ง
โรงพยาบาลหาดใหญ่ • Activating trauma team • Head injury guideline • Trauma audit
คุณภาพการดูแลผู้บาดเจ็บก่อนส่งต่อคุณภาพการดูแลผู้บาดเจ็บก่อนส่งต่อ
ER คุณภาพ จังหวัดสงขลา: ประเมินทุกรพ.