370 likes | 503 Views
หน้าที่ของผู้บริหารเงิน. 1. การวิเคราะห์เพื่อการบริหารเงิน. 2. การวางแผนทางการเงิน. 3. การจัดหาเงินทุน. 4. การจัดสรรเงินทุน. 5. การประสานงานและการควบคุม ทางการเงิน. วางแผนทางการเงิน เพื่อ. ทราบขนาดของเงินทุนที่ต้องการ. ควบคุมต้นทุน. มีแผนการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ.
E N D
หน้าที่ของผู้บริหารเงินหน้าที่ของผู้บริหารเงิน 1. การวิเคราะห์เพื่อการบริหารเงิน 2. การวางแผนทางการเงิน 3. การจัดหาเงินทุน 4. การจัดสรรเงินทุน 5. การประสานงานและการควบคุม ทางการเงิน
วางแผนทางการเงิน เพื่อ ทราบขนาดของเงินทุนที่ต้องการ ควบคุมต้นทุน มีแผนการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดรายได้ และควบคุมค่าใช้จ่าย มีการประสานงาน มีสภาพคล่อง สามารถชำระหนี้สินและภาระผูกพัน สร้างความมั่นใจให้แก่สมาชิกและเจ้าหนี้ ลดความเสี่ยงทางการเงินในสถานการณ์ต่างๆ
การวางแผนทางการเงิน ด้วย งบประมาณเงินสด หรือ งบกระแสเงินสดล่วงหน้า
งบประมาณ แผนงานทางการเงินในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง อธิบายถึงแผนในรูปของตัวเงิน
ขั้นตอนในการจัดทำงบประมาณเงินสดขั้นตอนในการจัดทำงบประมาณเงินสด เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ แผนงานระยะยาวของสหกรณ์ การพยากรณ์ปริมาณธุรกิจระยะยาว การพยากรณ์ปริมาณธุรกิจระยะสั้น เงินให้สมาชิกกู้ 1. งบประมาณจ่ายเงินกู้ 2. งบประมาณเงินรับชำระหนี้ 3. งบประมาณดอกเบี้ยรับ ทุนเรือนหุ้น 1. งบประมาณการรับค่าหุ้น - ประจำเดือน - พิเศษ 2. งบประมาณการถอนหุ้นคืน เงินรับฝาก 1. งบประมาณเงินรับฝาก 2. งบประมาณการถอน เงินฝาก 3. งบประมาณดอกเบี้ยจ่าย เงินรับฝาก งบประมาณเงินกู้ยืม งบประมาณ เงินสด งบประมาณค่าใช้จ่าย ดำเนินงาน งบประมาณการลงทุน
จ่าย รับ จ่าย รับ รับ จ่าย รับ จ่าย เพิ่ม รับ เงินฝาก ค่าใช้จ่าย รายได้ ลงทุนระยะยาว ลด เพิ่ม จ่าย รับ ลด รับ จ่าย เพิ่ม สินทรัพย์ระยะสั้น (ไม่ใช่เงินสด) ลด หนี้สินระยะยาว เพิ่ม ลด หนี้สินระยะสั้น เพิ่ม ลด เพิ่ม เงินค่าหุ้น ลด จ่าย แสดงการจัดการกระแสเงินสดของ สหกรณ์ออมทรัพย์ (Cash Flow Management)
ตัวอย่าง งบประมาณเงินสดของสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งหนึ่ง งบประมาณเงินสด สำหรับงวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน
ตัวอย่างที่ 2 สหกรณ์ออมทรัพย์..............................................จำกัด งบกระแสเงินสดล่วงหน้า ประจำเดือนมกราคม - ธันวาคม 2548
รายงานทางการเงินเพื่อการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์รายงานทางการเงินเพื่อการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ 1. งบดุล 2. งบกำไรขาดทุน 3. รายงานโครงสร้างเงินทุน 4. รายงานแหล่งที่มาของเงินทุน และทางใช้ไป ของเงินทุนจำแนกตามอายุของเงินทุน 5. รายงานต้นทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 6. รายงานต้นทุนบริหาร
7. รายงานผลตอบแทนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 8. รายงานเงินรับฝาก 9. รายงานเงินฝากธนาคาร และเงินลุงทุน 10. รายงานสถานะลูกหนี้เงินให้กู้แก่สมาชิก 11. รายงานงบกระแสเงินสดล่วงหน้า 12. รายงานการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน 13. รายงานมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
รายงาน 1 สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยรักกัน จำกัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547
รายงาน 2 สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยรักกัน จำกัด งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2547
รายงาน 3 สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยรักกัน จำกัด โครงสร้างเงินทุน ณ 31 ธันวาคม 2547
ความสามารถในการก่อหนี้ความสามารถในการก่อหนี้
รายงาน 4 สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยใจดี จำกัด แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนจำแนกตามอายุเงินทุน ณ 31 ธันวาคม 2547 ******************************** หลักเกณฑ์การจัดสัดส่วนการลงทุนให้สัมพันธ์อายุเงินทุน
รายงาน 5 - 6 สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยใจดี จำกัด รายงานต้นทุน ณ 31 ธันวาคม 2547 ********************** 1. ต้นทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (WACC)
สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยใจดี จำกัด รายงานอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ณ 31 ธันวาคม 2547 *********************************************** รายงาน 7 อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (WARR)
รายงาน 8 สหกรณ์ไทยใจดี จำกัด รายงานเงินรับฝาก ณ 30 เมษายน 2547 รายงานยอดเงินฝาก จำแนกตามประเภทเงินฝาก
สหกรณ์ไทยใจดี จำกัด รายงานเงินรับฝาก ณ 30 เมษายน 2547 รายงาน 8 รายงานยอดเงินฝาก จำแนกตามอัตราดอกเบี้ย
รายงาน 9 สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยใจดี จำกัด รายงานเงินฝากประจำธนาคาร ณ วันที่………………….. ………………………………………..
รายงาน 10 สหกรณ์ออมทรัพย์………….. จำกัด รายงานสถานะลูกหนี้เงินให้กู้ ณ วันที่ ……………….. …………………………………………. 1. รายงานยอดลูกหนี้เงินให้กู้แก่สมาชิก
2. รายงานการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้ 3. รายงานการชำระคืนเงินกู้ และดอกเบี้ยเงินกู้ของสมาชิก
4. รายงานการหักเงินเดือนผู้ค้ำประกันชำระหนี้แทนผู้กู้
รายการหักเงินเดือนผู้ค้ำประกันชำระหนี้แทนผู้กู้รายการหักเงินเดือนผู้ค้ำประกันชำระหนี้แทนผู้กู้ ประจำเดือน……………………..
รายงาน 13 สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยรักกัน จำกัด มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ (EVA) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ************************* 1. ความสามารถในการหากำไร
2. ต้นทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (WACC)
3. มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ (Economic Value Added)