1 / 77

Thalassemia นพ.ธีระ ภิรมย์สวัสดิ์

Thalassemia นพ.ธีระ ภิรมย์สวัสดิ์. Thalassemia. common genetic disease variable severity difficult to diagnosis and councelling decrease prevalence by PND. Thalassemia.

jerod
Download Presentation

Thalassemia นพ.ธีระ ภิรมย์สวัสดิ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Thalassemiaนพ.ธีระ ภิรมย์สวัสดิ์

  2. Thalassemia • common genetic disease • variable severity • difficult to diagnosis and councelling • decrease prevalence by PND

  3. Thalassemia • เกิดจากความผิดปกติที่ยีน ทำให้เกิดโรคโลหิตจางที่เกิดจากการสร้างสายโกลบินได้น้อยลง ผิดปกติ หรือ ไม่ได้เลย หรือสายโกลบินมีโครงสร้างผิดปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดงถูกทำลายเร็ว เกิดภาวะซีดเรื้อรังและเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ • แบ่งตามระดับความรุนแรงเป็น • thalassemia minor • thalassemia intermedia • thalassemia major

  4. อาการโรคธาลัสซีเมีย • เป็นพาหะ (thalassemia trait, trait) • ไม่มีอาการ • มีสุขภาพแข็งแรง • เป็นโรค (thalassemia disease, disease) • มีอาการแสดงของโรค • ความรุนแรงแตกต่างกัน

  5. อาการและอาการแสดง • Chronic hemolytic anemia • Pallor and jaundice • Thalassemic facies • Hepatosplenomegaly • Hemochromatosis • Skin, heart, endocrine glands

  6. อาการและอาการแสดง • Bone change • Endocrine dysfunction • Growth retardation • Delayed secondary sexual development • Hemolytic crisis

  7. การวินิจฉัย • อาการ และอาการแสดง • ซีด เหลือง ตับ และม้ามโต • CBC : anemia, low MCV, characteristic RBC morphology • Hb typing • DNA analysis: a thal

  8. ภาวะแทรกซ้อน • Transfusion-transmitted infections • Bone expansion • Endocrine dysfunction • Hypopituitarism, hypothyroidism, diabetes millitus, short stature, delayed puberty • Pulmonary hypertension and embolism

  9. ภาวะแทรกซ้อน • Hemosiderosis/cirrhosis of liver • Extramedullary hematopoiesis • Arthropathy • Osteopenia • Venous thrombosis • Cardiomyopathy

  10. ภาวะธาตุเหล็กสะสมเกินภาวะธาตุเหล็กสะสมเกิน • ผู้ป่วยได้รับธาตุเหล็กจากเลือด และยังดูดซึมธาตุเหล็กมากกว่าปกติ • เหล็กจะสะสมในอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะหัวใจ และต่อมไร้ท่อ • เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต • ผู้ป่วยที่มีระดับ ferritin ต่ำกว่า ๒๕๐๐ มก./มล. มักจะมีชีวิตนานกว่า และไม่ค่อยมีโรคหัวใจ

  11. การรักษาผู้ป่วย Thalassemia • การให้เลือด • การให้ยาขับธาตุเหล็ก • การตัดม้าม • การปลูกถ่ายไขกระดูก

  12. เม็ดเลือดแดง • ประกอบด้วย ฮีม และ สายโกลบิน รวมเป็น ฮีโมโกลบิน • ฮีม มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ • สายโกลบินเป็นโปรตีนที่สำคัญ • ฮีโมโกลบิน ๑ หน่วย ประกอบด้วย ๑ ฮีม และ ๔ สายโกลบิน • ทำหน้าที่ขนถ่ายออกซิเจนไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย

  13. Heterozygote มียีนธาลัสซีเมียอยู่บนแขนข้างเดียวของโครโมโซม เรียกอีกอย่างว่า trait • Homozygote มียีนธาลัสซีเมียชนิดเดียวกัน อยู่บนแขนทั้งสองข้างของโครโมโซม • Double heterozygote มียีนธาลัสซีเมียทั้ง α และ βอยู่บนแขนของโครโมโซม

  14. β0-thal คือยีนที่ผิดปกติทำให้ไม่สามารถสร้าง βglobin chain ได้ • β+-thal คือยีนที่ผิดปกติ แต่ยังสร้าง βglobin chain ได้บ้าง • HbE เป็น Hb ที่ผิดปกติ มีคุณสมบัติเหมือน β+-thal • α-thal1 คือ alpha globin gene ทั้ง2อันที่อยู่บนแขนของโครโมโซมข้างหนึ่งขาดหายไป • α-thal2 คือ alpha globin gene1อันที่อยู่บนแขนของโครโมโซมข้างหนึ่งขาดหายไป • HbCS เป็น Hb ที่ผิดปกติ มีคุณสมบัติเหมือน α-thal2

  15. a-thalassemia aa/aa normal -a/aaa thal-2 trait --/aaa thal-1 trait -a/-a homozygous a thal-2 --/-a Hb H disease --/-- Hb Bart’s disease

  16. Hb Constant Spring • การเปลี่ยนแปลงของลำดับเบสบริเวณท้ายสุดของยีน a thal • ทำให้สร้างกรดอะมิโนเพิ่มอีก ๓๑ ตัว • มีผลเหมือน a thal 2 • --/aCSa Hb H disease with constant spring

  17. b-thalassemia b/b normal b0/bb thal trait b0/b, b0/b+, b+/b+b thal major b0/bE, b+/bEb thal/E disease

  18. a and b thalassemia • AE Bart’s disease • --/-a, Hb E trait • EF Bart’s disease • --/-a, homozygous Hb E

  19. Thalassemia minor • Heterozygote • Homozygous α-thal2 • Homozygous HbE • α/β thal double hetrozygote • จะมีสุขภาพปกติ

  20. Thalassemia intermedia • อาการปานกลาง ไม่จำเป็นต้องรับเลือดประจำ ซีดปานกลาง Hb 8-10g/dl อาจมีตาเหลือง นิ่วในถุงน้ำดี กระดูกพรุน และภาวะเหล็กเกินเมื่ออายุมากขึ้น • β-thal/HbE บางส่วน • EA Bart’s • homozygous Hb CS • HbH

  21. Thalassemia major • Hb Bart’s hydrops fetalis • Homo. β-thalassemia • β-thal/HbE บางส่วน

  22. Hb Bart’s hydrops fetalis • ตายหมดก่อนคลอดหรือหลังคลอดไม่กี่นาที จากการที่ไม่สามารถสร้าง Hb ได้ • มารดาเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงได้บ่อย เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ คลอดไม่ได้เนื่องจากเด็กตัวใหญ่ และตกเลือดหลังคลอด

  23. Hemoglobin Bart’s hydrops fetalis

  24. Homo. β-thalassemiaและ β-thal/HbE • ซีดมาก Hb 3-4 g/dl ต้องได้รับเลือดประจำ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด ร่างกายเติบโตช้า บวม อาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว • 6-10 ปีอาจต้องตัดม้าม • 30-40 ปี จะมีภาวะเหล็กเกิน ทำให้ผิวคล้ำ เบาหวาน ตับแข็ง • ต้องรักษาตัวตลอดโดยการให้เลือด ให้ยาขับธาตุเหล็ก สามารถหายขาดได้จากการปลูกถ่าย Stem cell เช่นปลูกถ่ายไขกระดูก ปลูกถ่ายเลือดจากสายสะดือ แต่เลือดที่ให้ต้องเข้ากันได้และค่าใช้จ่ายแพงมาก

  25. Hemoglobinopathy • β-chain (β0, β+) • β-trait • E trait • β/E disease • β-thal homo. • HbE homo. • α-chain (α-thal1, α-thal2) • α-trait • HbH(α-thal1/α-thal2 or α-thal1/HbCS) • Hb Bart’shydrops fetalis • แบบผสม • EA Bart’s disease (HbH+HbE heterozygote) • EF Bart’s disease (HbH+HbE homo.or β0 thal/HbE)

  26. important diseases for PND • β-thal/E disease • β-thal. homozygote • Hb Bart’s hydrops fetalis ยีนที่ต้องหาในคู่สามี-ภรรยา • β-thal Hb • HbE • α-thal1 Hb

  27. การตรวจคัดกรอง • OF หรือ MCV เน้นดูβ-thal และ α-thal1 • DCIP เน้นดู HbE

  28. female male ¼ ¼ ¼ ¼

  29. female(β tr.) male(E tr.) ¼ normal ¼ β tr. ¼ E tr. ¼ β/E Dz

  30. male (β/E Dz) female (E tr.) ¼ β tr. ¼ β/E Dz. ¼ E tr. ¼ EE homo.

  31. Punnett Square F M

  32. PND √ √ X X X √ X √ ± ?

  33. การแปลผล Hb typing จากเครื่อง HPLC

  34. ชนิดของฮีโมโกลบิน • เด็กมากกว่า ๑ ปี และผู้ใหญ่ • Hb A a2b2 97% • Hb A2 a2d2 <3.5% • Hb F a2g2 <1% เด็กแรกเกิด • Hb F เป็นส่วนใหญ่

  35. red cell indices and Hb typing normocyte microcyte Thal.Dz. β-thal Homo β-thal/HbE HbH EA Bart’s EF Bart’s HbA2+A HbA2+A Dx:Normal α-thal2 tr. Hb A+CS Dx:Hb CS HbE+A Hb EE Dx:HbE Homo HbA2 Determination HbE Determination HbA2>3.5% Dx: β-thal tr. HbA2<3.5% HbE=25-30% Dx:HbE α-thal2/HbE HbE<21% Hb>10g/dl Dx: α-thal1/HbE Hb<10g/dl Dx: iron def. iron def. on top of thal tr. Hb>10g/dl Dx: α-thal1 tr. Hb<10g/dl Dx:HbE tr. with iron def. α-thal1/HbE with iron def.

  36. OF pos. neg. DCIP DCIP pos. Dx: HbE tr. neg. Dx: α-thal1 tr β-thal tr. β-thal homo iron def. pos. Dx: HbE tr. HbE homo β-thal/HbE HbH Others neg. Dx: normal α-thal2 tr. HbCS tr. Clinical RBC morphology β-thal homo HbA2 Determination -Clinical -Rbc morphology -Hb typing -Inclusion body (HbH) -F cell stain (β-thal/HbE) HbA2>3.5% Dx: β-thal tr. HbA2<3.5% Dx: α-thal1 tr. iron def. Repeated study after iron supplementation X 3 mo.

  37. α-thal1trait แยกกับ iron def. ได้ยาก α-thal1trait จะมี MCV ต่ำ แต่มักจะไม่ซีด (Hb 12-13 g/dl)

  38. ผู้ที่มียีน α-thal1 • HbH • EA Bart’s • EF Bart’s

  39. ผู้ที่อาจจะมียีน α-thal1 • case OF +ve or MCV< 80% โดย Hb typing ปกติ • E homo และ β / E disease อาจมี ยีน α-thal1 แฝงอยู่ • β-thal trait อาจมี ยีน α-thal1 แฝงอยู่ • E trait ที่มี HbE 20-25 % อาจมี ยีน α-thal1 แฝงอยู่ • E trait ที่มี HbE < 20 % อาจเป็น AE Bart’s หรือ EF Bart’s ซึ่งมียีน α-thal1

  40. ข้อควรระวัง • Homo E จะต้องมี Hb E > 80 % และ MCV > 60 % • Homo E ที่มี Hb E <80 % และ MCV < 60 % อาจจะเป็น β/ Hb E disease

  41. ถ้า OF -ve หรือ MCV > 80สามารถตัด α-thal1trait ได้เลย ?

  42. การวินิจฉัย α-thal1traitใช้วิธี DNA mapping

  43. Prenatal diagnosis (PND) • ประกอบด้วยขั้นตอน • คัดกรองหญิงตั้งครรภ์และสามีที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และให้คำปรึกษา • สูติศาสตร์หัตถการ เพื่อวินิจฉัยทารกในครรภ์ • ห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจหาความผิดปกติ

  44. เป้าหมายการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดเป้าหมายการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด • Hb Bart’s hydrops fetalis • Beta thal / beta thal • Beta thal / Hb E disease

  45. สูติศาสตร์หัตถการ • Ultrasound • Amniocentesis • Fetal blood sampling • Chrorionic villus sampling

  46. Ultrasound • ทำทุกรายเพื่ออายุครรภ์ที่แน่นอน เพื่อกำหนดวันทำการตรวจต่อไป • ตรวจหาความผิดปกติทางกายภาพ เช่นพบลักษณะของ Hydrops fetalis ได้ตั้งแต่ 20-24 สัปดาห์ • จะได้ทราบตำแหน่งของเด็ก รก จุดเกาะของสายสะดือ จุดที่จะเจาะตัวอย่างชิ้นเนื้อหรือเลือด

  47. การวินิจฉัยก่อนคลอด: อัลตร้าซาวนด์ (Ultrasound) • ใช้ในรายที่ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อภาวะ Hb Bart’s hydrops fetalis • พบ fetal ascites, cardiomegaly, skin edema, dilated umbilical vein • อาจมี pericardial effusion หรือ pleural effusion • พบรกหนากว่าปรกติ น้ำคร่ำปริมาณน้อยลง

  48. การวินิจฉัยก่อนคลอด: อัลตร้าซาวนด์ (Ultrasound) • มักพบใน second trimester (14-28 weeks) หรืออาจถึง 32 สัปดาห์ • ต้องตรวจ confirm โดยการเก็บตัวอย่างทารก ดังจะกล่าวต่อไป • มี maternal complication เช่น preclampsia, eclampsia, placenta previa

  49. Prenatal Diagnosis: Ultrasound (Ascites)

  50. Fetal hydrops • Immune hydrops (หมู่เลือดไม่เข้ากัน โดยเฉพาะ Rh blood group) • Non-immune hydrops • Hemoglobin Bart’s hydrops fetalis • โรคระบบหัวใจ และหลอดเลือด • การติดเชื้อของทารกในครรภ์ เช่น ซิฟิลิส • ความผิดปกติของ chromosome หรือ malformations บางชนิด • TTTS (Twin-to-twin transfusion syndrome) • ฯลฯ

More Related