120 likes | 369 Views
ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548. โลหะมูลฐาน 4.6%. ผลิตภัณฑ์โลหะ 6.6%. เหมืองแร่ 0.2 %. อื่นๆ 6.0%. เกษตร 5.1%. อาหารและเครื่องดื่ม 28.1%. ขนส่ง 37.7%. อุตสาหกรรม 36.3 %. สิ่งทอ 4.6%. ธุรกิจ 6.2%. ที่อยู่อาศัย 14.3%. ก่อสร้าง 0.2 %. เคมี 12.1%. อโลหะ 33.5%. กระดาษ 3.6%.
E N D
ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548 โลหะมูลฐาน 4.6% ผลิตภัณฑ์โลหะ 6.6% เหมืองแร่ 0.2 % อื่นๆ 6.0% เกษตร 5.1% อาหารและเครื่องดื่ม 28.1% ขนส่ง 37.7% อุตสาหกรรม36.3 % สิ่งทอ 4.6% ธุรกิจ 6.2% ที่อยู่อาศัย 14.3% ก่อสร้าง 0.2 % เคมี 12.1% อโลหะ 33.5% กระดาษ 3.6% ไม้และเครื่องเรือน 0.9% การใช้พลังงานในภาคอุตฯและธุรกิจ 26,487 ktoe (505,000 ล้านบาท) เติบโต 2.56% ที่มา : รายงานการใช้พลังงานปี 2548 พพ.
EE 0.9 : 1 EE 0.85 : 1 Energy Elasticity = Growth (Energy) Growth (GDP) High Tech. Process Improvement Energy Management เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานปี 2548-2554 ktoe 75,000 ล้านบาท/ปี 30,000 ล้านบาท/ปี เป้าหมายเดิม ’46 จาก 1.2 : 1 1 : 1 New Challenge 0.85 : 1 ประหยัดพลังงานสะสม ‘48–‘51 เป็นมูลค่า 66,000ล้านบาท ประหยัดพลังงานสะสม ‘48–‘54 เป็นมูลค่า243,000ล้านบาท กรอบการดำเนินงาน ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง มาตรการภาษี เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ กฏหมาย ฝึกอบรม /ให้ความรู้ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ข้อมูล/ข่าวสาร
มาตรการ ผลงานและแผน กฏหมาย/ข้อบังคับ ดำเนินการแล้ว ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป • เสนอแก้ไขกฎหมาย • - แยกการกำกับอาคารของรัฐและเอกชนออกจากกัน • - ออกมาตรฐานการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคาร • - ปรับมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารให้เหมาะสำหรับอาคารแต่ละประเภท • - ปรับการบังคับให้เหมาะสมกับขนาดของโรงงาน/อาคาร • ปฏิบัติตามกฏหมาย 87% • อาคารควบคุม 1,908 แห่ง • - มีผู้รับผิดชอบ 1,718 แห่ง • - ส่ง บพอ. 1,736 แห่ง • - ส่ง T&P 1,468 แห่ง • - ศักยภาพผลประหยัด 593ล้านบาท • โรงงานควบคุม 3,083 แห่ง • - มีผู้รับผิดชอบ 2,539 แห่ง • - ส่ง บพร. 2,617 แห่ง • - ส่ง T&P 1,915 แห่ง • - ศักยภาพผลประหยัด3,640ล้านบาท • ลดขั้นตอนการทำ Prelim & Detailed audit • เปิดโอกาสให้โรงงาน/ อาคารจัดทำT&Pได้เอง • ยกเลิกการให้เงิน สนับสนุนโดยตรง (1แสนบาท, 5 แสนบาท , เงินลงทุน) งบประมาณ 4,507 ล้านบาท ปัญหาอุปสรรค • โรงงาน/อาคารขาดความพร้อมด้านบุคลากร โดยเฉพาะภาครัฐ เช่น หน่วยงานศาล • ขาดการบังคับใช้บทลงโทษ - ค่าธรรมเนียมไฟฟ้าพิเศษ ใช้ได้เฉพาะผู้ใช้ไฟฟ้าเท่านั้น ไม่เสมอภาค - ไม่มีมาตรฐานการใช้พลังงานในโรงงาน - มาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารบางแห่ง ไม่คุ้มกับการลงทุน
มาตรการ ผลงานและแผน การบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป • ส่งที่ปรึกษาเข้าไปฝึกอบรมและกระตุ้นการดำเนินการแบบมีส่วนร่วม และสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งระดับบริหาร วิศวกรรม ปฏิบัติการ • สร้างทีมงานและระบบการจัดการพลังงานเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน • ปี 50 • โรงงาน/อาคาร 330แห่ง • ผลประหยัด 110 ล้านบาท/ปี • ระยะยาว • พัฒนามาตรฐานการจัดการพลังงานผลักดันเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม • เอกชนร่วมออกค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างที่ปรึกษา (Cost Sharing) • รวม 821 แห่ง • โรงงาน 634 แห่ง (โลหะ, อาหาร, เคมี, สิ่งทอ) • อาคาร 187 แห่ง (ห้างสรรพสินค้า, อาคารสำนักงาน) • ผลประหยัด 940 ล้านบาท/ปี • (Housekeeping, Low cost measures) งบประมาณ 212.5 ล้านบาท ปัญหาอุปสรรค • วัฒนธรรมองค์กรของโรงงาน/อาคาร • โรงงาน/อาคารขาดความใส่ใจที่จะดำเนินการต่อ
มาตรการ ผลงานและแผน ฝึกอบรม /ให้ความรู้ หลักสูตร • อบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ/อาวุโส • PRE สามัญ ตาม พรบ. • PRE อาวุโสเสริมความรู้ความสามารถ • อบรมการอนุรักษ์พลังงานหลักสูตรอื่นๆ • การบริหารจัดการพลังงาน • การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน • การอนุรักษ์พลังงานในระบบการใช้พลังงานหลัก • การอนุรักษ์พลังงานแยกตามประเภทอุตสาหกรรม/อาคารธุรกิจ • การเดินเครื่องจักรและบำรุงรักษา • ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา บรรจุหลักสูตรเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป • อบรม PRE สามัญ 6,000 คน • อบรม PRE อาวุโส 250 คน • อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน • ได้บรรจุวิชาด้านอนุรักษ์พลังงาน 4 วิชาในหลักสูตรของกรมอาชีวศึกษา • ได้อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค(นำร่อง) 40 คน และนักศึกษา 2,250 คน • ปี 50 • อบรม 30,000 คน • ระยะยาว • พพ. พัฒนาหลักสูตรและให้เอกชนจัดอบรมโดยเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้ารับการอบรม • อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค 500 คน งบประมาณ 176.6 ล้านบาท
มาตรการ ผลงานและแผน ข้อมูล/ข่าวสาร ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป • ปี 46-49 ให้บริการผู้ประกอบการ • ประชาชนทั้งหมด 13,300 ครั้ง • พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการ สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น • จัดตั้งเครือข่ายวิชาการในสาขาอุตสาหกรรมต่างๆ • ศูนย์รวมองค์ความรู้ : • - พัฒนารวบรวม แยกแยะ วิเคราะห์ ข้อมูล/องค์ ความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน • - จัดทำระบบเผยแพร่เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว • คลีนิกพลังงาน หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ : • - ถ่ายทอดองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน • - จัดทำคู่มือ สื่อความรู้ต่างๆ งบประมาณ 101.4 ล้านบาท
มาตรการ ผลงานและแผน มาตรการภาษี ผลการดำเนินงาน ’45-’48 ลักษณะโครงการ งานระยะต่อไป Cost-Based - ผู้เข้าร่วมโครงการ 92 ราย - ผลประหยัด 360 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 564 ล้านบาท(เอกชน) - ลดภาษี 42 ล้านบาท - งบประมาณจ่ายจริงตาม การดำเนินงาน 17.3 ล้านบาท Performance-Based - อนุมัติเข้าร่วมโครงการ 119 ราย - ผลประหยัด 575 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 997 ล้านบาท - เงินอุดหนุนเพื่อชดเชย ภาษี 98.7 ล้านบาท BOI - ผู้ได้รับการส่งเสริม 12 ราย(ผลิต5ราย, ESCO 4ราย,ยกเว้นอากร3ราย) - ผลประหยัด 99 ล้านบาท • ปี 50 • ผลประหยัด 330 ล้านบาท/ปี • ระยะยาว • กำหนดวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนกับกรมสรรพากร • หากเป็น Cost-based จะต้องปรับปรุง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเพิ่มสิทธิประโยชน์ (เสนอ 2 เท่า)รวมถึงลดขั้นตอนการตรวจสอบผลประหยัด • Cost-based :หักค่าใช้จ่าย 1.25เท่าของเงินลงทุน • Performance-based :หักคืนภาษี 30% ของผลประหยัด • BOI : ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี,ยกเว้นอากรขาเข้า ปัญหาอุปสรรค • ยังขาดทิศทางที่ชัดเจน (Cost/Performance) • ขาดความเชื่อมั่น • ขัดกับผลงานที่ต้องทำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • Incentive ไม่จูงใจ(เสนอ เพิ่มเป็น 2 เท่า) • ขั้นตอนยุ่งยาก
มาตรการ ผลงานและแผน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป เป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โดยปล่อยผ่านสถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 4 % สำหรับการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน • ปี 50 • ผลประหยัด 1,500 ล้านบาท/ปี • ระยะยาว • พพ. ลดบทบาทการเป็นแหล่งเงินทุน เปลี่ยนเป็นการให้บริการด้านเทคนิค • อบรมเจ้าหน้าที่สถาบันการเงินให้มีความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เฟส 1:(46-48) ผู้เข้าร่วมโครงการ 82 ราย เกิดการลงทุน 3,500 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 2,000 ล้านบาท ผลประหยัด 1,495 ล้านบาท/ปี เฟส 2: (6 เดือน) ผู้เข้าร่วมโครงการ 53 ราย เกิดการลงทุน 2,400 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 1,160 ล้านบาท ผลประหยัด 1,192 ล้านบาท/ปี สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ
มาตรการ ผลงานและแผน ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป • เลือกกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและมีการใช้พลังงานสูง • ศึกษาพฤติกรรมการใช้พลังงานและกระบวนการผลิตรวมถึงเทคโนโลยีขั้นสูงที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานและมีศักยภาพในการขยายผล • สาธิตเทคโนโลยีกับโรงงานตัวอย่าง(ให้เงินอุดหนุน 20%)และเผยแพร่ให้กลุ่มอุตสาหกรรม ได้คัดเลือกอุตสาหกรรมและศึกษาการใช้พลังงานโดยละเอียดใน 6 กลุ่มอุตสาหกรรม - อาหาร - สิ่งทอ - โรงแรม - พลาสติก - เหล็ก - อิเล็คทรอนิกส์ • ปี 50 • สาธิตเทคโนโลยีระดับสูง เช่น เครื่องฉีดพลาสติกประสิทธิภาพสูง • Hybrid heating • Slag foaming technology • Innovative heat storage • Coal water mixer • ผลประหยัด 175 ล้านบาท/ปี งบประมาณ 49 ล้านบาท
มาตรการ ผลงานและแผน ความร่วมมือภาคเอกชน ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป • ปี 50 • ขยายความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรม • ร่วมมือกับหอการค้าไทย นิคมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ เพื่อจัดตั้งศูนย์ปรึกษาฯ • ร่วมมือกับกลุ่มอุตสาหกรรม เครือธุรกิจต่างๆ โดย พพ ไปให้ความรู้ เพื่อสร้างทีมงานและสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พลังงาน เพื่อมุ่งหวังให้ภาคเอกชนขยายผลการดำเนินการระหว่างกันเอง งบประมาณ - บาท
ภาพรวมผลการดำเนินงาน 45-48 ktoe 1,312 ktoe/ปี BaUs case Actual ลดการใช้พลังงานภาคอุตฯและธุรกิจ : สามารถประหยัดพลังงานได้ 1,312ktoe/ปี คิดเป็นเงิน 25,000ล้านบาท/ปี* (จากการดำเนินการโดยตรง 7,700 ล้านบาท/ปี) งบประมาณ6,328ล้านบาท (ตามกฏหมาย 4,507 ล้านบาท) • การฝึกอบรม • อบรม PRE สามัญ 6,000 คน • อบรม PRE อาวุโส 250 คน • อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน • การปฏิบัติตามกฏหมาย • โรงงานควบคุม 2,510 แห่ง • อาคารควบคุม 1,605 แห่ง * 1 ktoe ประมาณ 19.21 ล้านบาท
ข้อเสนอเพื่อพิจารณา • เจรจากับ ก.คลัง ให้ขยายขอบเขตและเงื่อนไข รวมถึงสิทธิประโยชน์ให้จูงใจมากขึ้น (2 เท่า) • ผลักดันการแก้ไขกฏหมาย (พรบ. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 2535)